ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือโคร่งมลายู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
== อนุกรมวิธาน ==
== อนุกรมวิธาน ==
''Felis tigris'' เป็น[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]สำหรับเสือโคร่งที่ตั้งโดย[[คาร์ล ลินเนียส]]ใน ค.ศ. 1758<ref>{{cite book |author=Linnaeus, C. |year=1758 |title=Caroli Linnæi Systema naturæ per regna tria naturæ, secundum classes, ordines, genera, species, cum characteribus, differentiis, synonymis, locis. Tomus I |edition=decima, reformata |location=Holmiae |publisher=Laurentius Salvius |chapter=''Felis tigris'' |page=41 |chapter-url=https://archive.org/stream/mobot31753000798865#page/41/mode/2up}}</ref>
''Felis tigris'' เป็น[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]สำหรับเสือโคร่งที่ตั้งโดย[[คาร์ล ลินเนียส]]ใน ค.ศ. 1758<ref>{{cite book |author=Linnaeus, C. |year=1758 |title=Caroli Linnæi Systema naturæ per regna tria naturæ, secundum classes, ordines, genera, species, cum characteribus, differentiis, synonymis, locis. Tomus I |edition=decima, reformata |location=Holmiae |publisher=Laurentius Salvius |chapter=''Felis tigris'' |page=41 |chapter-url=https://archive.org/stream/mobot31753000798865#page/41/mode/2up}}</ref>
มีการเสนอชื่อ ''Panthera tigris corbetti'' ใน ค.ศ. 1968 โดย [[Vratislav Mazák]] สำหรับชนิดย่อยของเสือโคร่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<ref name=Mazak1968>{{cite journal |last1=Mazák |first1=V. |year=1968 |title=Nouvelle sous-espèce de tigre provenant de l'Asie du sud-est |journal=Mammalia |volume=32 |issue=1 |pages=104−112 |doi=10.1515/mamm.1968.32.1.104|s2cid=84054536 }}</ref><ref name=Khan1986>{{cite journal |last=Khan |first=M.K.M. |year=1986 |title=Tigers in Malaysia |journal=The Journal of Wildlife and Parks |volume=V |pages=1–23}}</ref> จากนั้นจึงมีการเสนอชื่อ ''Panthera tigris jacksoni'' ใน ค.ศ. 2004 ในฐานะชนิดย่อยจากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมที่ระบุความแตกต่างใน[[ดีเอ็นเอของไมโทคอนเดรีย]]กับ[[ลำดับดีเอ็นเอ]]ของ ''P. t. corbetti''<ref name=Luo04/> นับตั้งแต่การปรับปรุงศาสตร์ด้าน[[อนุกรมวิธาน]]ใน ค.ศ. 2017 เสือโคร่งมลายูถูกจัดให้เป็นประชากร ''P. t. tigris''<ref name="catsg" /> อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาทางพันธุกรรมที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 2018 สนับสนุน[[เคลด]][[Monophyly|ชาติพันธุ์เดียว]] 6 อันจากการวิเคราะห์[[Whole genome sequencing|การตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรม]]ชนิดตัวอย่าง 32 ชนิด เสือโคร่งมลายูมีลักษณะแตกต่างจากขนิดตัวอย่างของเสือโคร่งเอเชียแผ่นดินใหญ่ชนิดอื่น ๆ ทำให้มีการสนับสนุนแนวคิด 6 ชนิดย่อย<ref>{{cite journal |last1=Liu |first1=Y.-C. |first2=X. |last2=Sun |first3=C. |last3=Driscoll |first4=D. G. |last4=Miquelle |first5=X. |last5=Xu |first6=P. |last6=Martelli |first7=O. |last7=Uphyrkina |first8=J. L. D. |last8=Smith |first9=S. J. |last9=O’Brien |first10=S.-J. |last10=Luo |title=Genome-wide evolutionary analysis of natural history and adaptation in the world's tigers |journal=Current Biology |volume=28 |issue=23 |year=2018 |pages=3840–3849 |doi=10.1016/j.cub.2018.09.019 |pmid=30482605|doi-access=free }}</ref>
มีการเสนอชื่อ ''Panthera tigris corbetti'' ใน ค.ศ. 1968 โดย [[Vratislav Mazák]] สำหรับชนิดย่อยของเสือโคร่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<ref name=Mazak1968>{{cite journal |last1=Mazák |first1=V. |year=1968 |title=Nouvelle sous-espèce de tigre provenant de l'Asie du sud-est |journal=Mammalia |volume=32 |issue=1 |pages=104−112 |doi=10.1515/mamm.1968.32.1.104|s2cid=84054536 }}</ref><ref name=Khan1986>{{cite journal |last=Khan |first=M.K.M. |year=1986 |title=Tigers in Malaysia |journal=The Journal of Wildlife and Parks |volume=V |pages=1–23}}</ref> จากนั้นจึงมีการเสนอชื่อ ''Panthera tigris jacksoni'' ใน ค.ศ. 2004 ในฐานะชนิดย่อยจากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมที่ระบุความแตกต่างใน[[ดีเอ็นเอของไมโทคอนเดรีย]]กับ[[ลำดับดีเอ็นเอ]]ของ ''P. t. corbetti''<ref name=Luo04/> นับตั้งแต่การปรับปรุงศาสตร์ด้าน[[อนุกรมวิธาน]]ใน ค.ศ. 2017 เสือโคร่งมลายูถูกจัดให้เป็นประชากร ''P. t. tigris''<ref name="catsg" /> อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาทางพันธุกรรมที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 2018 สนับสนุน[[เคลด]][[Monophyly|ชาติพันธุ์เดียว]] 6 ชนิดจากการวิเคราะห์[[Whole genome sequencing|การตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรม]]ชนิดตัวอย่าง 32 ชนิด เสือโคร่งมลายูมีลักษณะแตกต่างจากขนิดตัวอย่างของเสือโคร่งเอเชียแผ่นดินใหญ่ชนิดอื่น ๆ ทำให้มีการสนับสนุนแนวคิด 6 ชนิดย่อย<ref>{{cite journal |last1=Liu |first1=Y.-C. |first2=X. |last2=Sun |first3=C. |last3=Driscoll |first4=D. G. |last4=Miquelle |first5=X. |last5=Xu |first6=P. |last6=Martelli |first7=O. |last7=Uphyrkina |first8=J. L. D. |last8=Smith |first9=S. J. |last9=O’Brien |first10=S.-J. |last10=Luo |title=Genome-wide evolutionary analysis of natural history and adaptation in the world's tigers |journal=Current Biology |volume=28 |issue=23 |year=2018 |pages=3840–3849 |doi=10.1016/j.cub.2018.09.019 |pmid=30482605|doi-access=free }}</ref>


=== ชื่อ ===
=== ชื่อ ===
ไม่มีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดระหว่างเสือโคร่งมลายูกับ[[เสือโคร่งอินโดจีน]]ที่มีการเปรียบเทียบชนิดตัวอย่างในสองภูมิภาคที่กระโหลกศีรษะหรือขนสัตว์ ทำให้ไม่มีการจัด[[ต้นแบบ (ชีววิทยา)|ชนิดต้นแบบ]]<ref name=mazak06>{{cite journal|last1=Mazák |first1=J. H. |last2=Groves |first2=C. P. |year=2006 |title=A taxonomic revision of the tigers (Panthera tigris) |url=http://arts.anu.edu.au/grovco/tiger%20SEAsia%20Mazak.pdf |journal=Mammalian Biology |volume=71 |issue=5 |pages=268–287 |doi=10.1016/j.mambio.2006.02.007 |url-status=bot: unknown |archive-url=https://web.archive.org/web/20130313144127/http://arts.anu.edu.au/grovco/tiger%20SEAsia%20Mazak.pdf |archive-date=2013-03-13 }}</ref> เสือโคร่งมลายูมีขนาดเล็กกว่า[[เสือโคร่งเบงกอล]] โดยวัดจากขนาดเพศผู้ 11 ตัวและเพศเมีย 8 ตัว ความยาวเฉลี่ยของเสือชนิดนี้คือ {{convert|8|ft|6|in|cm|abbr=off}} ส่วนเพศเมียอยู่ที่ {{convert|7|ft|10|in|cm|abbr=off}}<ref>{{cite book |author=Locke, A. |year=1956 |title=The tigers of Terengganu |publisher=Museum Press Ltd. |location=London}}</ref>
โดยถูกตั้งชื่อ[[สปีชีส์|สายพันธุ์]]ว่า ''jacksoni'' เพื่อเป็นเกียรติแก่ปีเตอร์ แจ็กสัน ซึ่งเป็นนักสำรวจที่ทำงานเกี่ยวกับเสือโคร่งมาช้านาน
ความยาวของร่างกายเสือเพศเมีย 16 ตัวใน[[รัฐตรังกานู]]อยู่ในขอบเขต {{convert|70|to|103|in|cm|abbr=off}} และเฉลี่ยที่ {{convert|80.1|in|cm|abbr=off}} ความสูงของเสืออยู่ที่ {{convert|23|to|41|in|cm|abbr=off}} และมีน้ำหนักร่างกายที่ {{convert|52|to|195|lb|kg|abbr=off}} ส่วนข้อมูลของเสือเพศผู้ 21 ตัว ระบุความยาวที่ {{convert|75|to|112|in|cm|abbr=off}} ซึ่งเฉลี่ยที่ {{convert|94.2|in|cm|abbr=off}} ความสูงของเสืออยู่ที่ {{convert|24|to|45|in|cm|abbr=off}} และมีน้ำหนักร่างกายที่ {{convert|104|to|284.7|lb|kg|abbr=off}}<ref name="Khan1986" />


== รูปลักษณ์ ==
== รูปลักษณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:56, 5 ธันวาคม 2565

เสือโคร่งมลายู
เสือโคร่งมลายูในสวนสัตว์ซินซิแนติ
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Felidae
สกุล: Panthera
สปีชีส์: P.  tigris
สปีชีส์ย่อย: P.  t. jacksoni
Trinomial name
Panthera tigris jacksoni
(Luo et al., 2004)
แผนที่แสดงที่อยู่ของเสือโคร่งมลายู
ชื่อพ้อง
  • P. t. malayensis Luo et al., 2004

เสือโคร่งมลายู หรือ เสือโคร่งมาเลเซีย (มลายู: Harimau Malaya; ชื่อวิทยาศาสตร์: Panthera tigris jacksoni) เป็นประชากรเสือโคร่งของชนิดย่อย Panthera tigris tigris ที่มีถิ่นกำเนิดในมาเลเซียตะวันตก[2] ประชากรของเสือโคร่งชนิดนี้อาศัยอยู่ในคาบสมุทรมลายูทางตอนใต้ถึงตอนกลาง และในบัญชีแดงไอยูซีเอ็นจัดให้เป็นสิ่งมีชีวิตที่เสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์มาตั้งแต่ ค.ศ. 2015 ข้อมูลเมื่อ เมษายน 2014 มีประชากรเสือโคร่งวัยผู้ใหญ่ชนิดที่ประมาณ 80 ถึง 120 ตัวที่มีโอกาสลดลงเรื่อย ๆ[3]

เสือโคร่งชนิดนี้ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่าเสือโคร่งอินโดจีนตอนใต้ เพื่อแยกมันจากประชากรเสือโคร่งทางตอนเหนือของอินโดจีนที่มีความแตกต่างทางพันธุกรรมกับประชากรกลุ่มนี้[4]

อนุกรมวิธาน

Felis tigris เป็นชื่อวิทยาศาสตร์สำหรับเสือโคร่งที่ตั้งโดยคาร์ล ลินเนียสใน ค.ศ. 1758[5] มีการเสนอชื่อ Panthera tigris corbetti ใน ค.ศ. 1968 โดย Vratislav Mazák สำหรับชนิดย่อยของเสือโคร่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[6][7] จากนั้นจึงมีการเสนอชื่อ Panthera tigris jacksoni ใน ค.ศ. 2004 ในฐานะชนิดย่อยจากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมที่ระบุความแตกต่างในดีเอ็นเอของไมโทคอนเดรียกับลำดับดีเอ็นเอของ P. t. corbetti[4] นับตั้งแต่การปรับปรุงศาสตร์ด้านอนุกรมวิธานใน ค.ศ. 2017 เสือโคร่งมลายูถูกจัดให้เป็นประชากร P. t. tigris[2] อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาทางพันธุกรรมที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 2018 สนับสนุนเคลดชาติพันธุ์เดียว 6 ชนิดจากการวิเคราะห์การตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมชนิดตัวอย่าง 32 ชนิด เสือโคร่งมลายูมีลักษณะแตกต่างจากขนิดตัวอย่างของเสือโคร่งเอเชียแผ่นดินใหญ่ชนิดอื่น ๆ ทำให้มีการสนับสนุนแนวคิด 6 ชนิดย่อย[8]

ชื่อ

ไม่มีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดระหว่างเสือโคร่งมลายูกับเสือโคร่งอินโดจีนที่มีการเปรียบเทียบชนิดตัวอย่างในสองภูมิภาคที่กระโหลกศีรษะหรือขนสัตว์ ทำให้ไม่มีการจัดชนิดต้นแบบ[9] เสือโคร่งมลายูมีขนาดเล็กกว่าเสือโคร่งเบงกอล โดยวัดจากขนาดเพศผู้ 11 ตัวและเพศเมีย 8 ตัว ความยาวเฉลี่ยของเสือชนิดนี้คือ 8 ฟุต 6 นิ้ว (259 เซนติเมตร) ส่วนเพศเมียอยู่ที่ 7 ฟุต 10 นิ้ว (239 เซนติเมตร)[10] ความยาวของร่างกายเสือเพศเมีย 16 ตัวในรัฐตรังกานูอยู่ในขอบเขต 70 ถึง 103 นิ้ว (180 ถึง 260 เซนติเมตร) และเฉลี่ยที่ 80.1 นิ้ว (203 เซนติเมตร) ความสูงของเสืออยู่ที่ 23 ถึง 41 นิ้ว (58 ถึง 104 เซนติเมตร) และมีน้ำหนักร่างกายที่ 52 ถึง 195 ปอนด์ (24 ถึง 88 กิโลกรัม) ส่วนข้อมูลของเสือเพศผู้ 21 ตัว ระบุความยาวที่ 75 ถึง 112 นิ้ว (190 ถึง 280 เซนติเมตร) ซึ่งเฉลี่ยที่ 94.2 นิ้ว (239 เซนติเมตร) ความสูงของเสืออยู่ที่ 24 ถึง 45 นิ้ว (61 ถึง 114 เซนติเมตร) และมีน้ำหนักร่างกายที่ 104 ถึง 284.7 ปอนด์ (47.2 ถึง 129.1 กิโลกรัม)[7]

รูปลักษณ์

หัวเสือโคร่งระยะใกล้

เสือโคร่งมาเลเซีย พบในป่าดิบชื้นของคาบสมุทรมลายู ได้แก่ รัฐกลันตัน ตรังกานู เปรัก และปะหังในมาเลเซีย รวมทั้งป่าตอนใต้สุดของไทยที่ติดกับชายแดนมาเลเซีย โดยมักอาศัยในป่าผืนเล็ก ๆ และแต่ละแห่งมีประชากรเสือโคร่งไม่มาก เสือโคร่งพันธุ์มาเลเซียชอบอยู่ตามป่าเต็งรังที่ต่ำ แต่ก็พบในป่าพรุด้วย ขนาดลำตัว เสือโคร่งมาเลเซียจะมีขนาดเล็กกว่าเสือโคร่งอินโดจีนเล็กน้อย แต่โดยทั่วไปแล้วก็ใกล้เคียงกันมาก

นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 กฎหมายของมาเลเซียระบุให้เสือโคร่งเป็นสัตว์คุ้มครองอย่างเข้มงวดภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองสัตว์ป่า ในปีนั้น กรมสัตว์ป่าและอุทยานแห่งชาติประเมินว่ายังมีเสือโคร่งอยู่ในประเทศประมาณ 300 ตัว มาเลเซียประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากในการควบคุมและลดปริมาณการล่าสัตว์ ในช่วงปี ค.ศ. 1972-ค.ศ. 1976 มีการล่าเสือโคร่งถึง 19 ตัวต่อปีโดยเฉลี่ย แต่ในปัจจุบันเหลือประมาณ 1 ตัวต่อปีเท่านั้น และประชากรเสือโคร่งได้เพิ่มขึ้น ในปี ค.ศ. 2007 คาดว่ามีปริมาณเสือโคร่งมาเลเซียวัยเจริญพันธุ์ประมาณ 490 ตัว

แต่เมื่อ พ.ศ. 2562 มาเลเซียได้สำรวจกลับพบว่า เสือโคร่งมลายูจำนวนลดลงเหลือน้อยกว่า 200 ตัว[11][12] เนื่องจากการลักลอบล่าสัตว์ ระหว่างปี 2544 ถึง 2555 มีการยึดชิ้นส่วนของร่างกายจากเสืออย่างน้อย 100 ตัวในมาเลเซีย ในพ.ศ. 2551 ตำรวจพบลูกเสือแช่แข็ง 19 ตัวในสวนสัตว์ และในปี 2555 หนังและกระดูกของเสือ 22 ตัวถูกยึด[13]

นอกจากนี้การขยายตัวของแหล่งเพาะปลูกกับโครงการพัฒนาพื้นที่ซึ่งทำลายแหล่งอาศัยของเสือ ประเมินกันว่า ถ้าหากไม่มีมาตรการช่วยเหลือพวกมันอาจสูญพันธ์หมดในพ.ศ. 2565[14]

อย่างไรก็ตาม สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติยังไม่ได้ประเมินสถานภาพของเสือโคร่งสายพันธุ์นี้

อ้างอิง

  1. Perhilitan (2017). Red List of Mammals For Peninsular Malaysia (PDF). Kuala Lumpur: Department of Wildlife and National Parks, Peninsular Malaysia.
  2. 2.0 2.1 Kitchener, A. C.; Breitenmoser-Würsten, C.; Eizirik, E.; Gentry, A.; Werdelin, L.; Wilting, A.; Yamaguchi, N.; Abramov, A. V.; Christiansen, P.; Driscoll, C.; Duckworth, J. W.; Johnson, W.; Luo, S.-J.; Meijaard, E.; O’Donoghue, P.; Sanderson, J.; Seymour, K.; Bruford, M.; Groves, C.; Hoffmann, M.; Nowell, K.; Timmons, Z.; Tobe, S. (2017). "A revised taxonomy of the Felidae: The final report of the Cat Classification Task Force of the IUCN Cat Specialist Group" (PDF). Cat News. Special Issue 11: 66–68.
  3. Kawanishi, K. (2015). "Panthera tigris subsp. jacksoni". IUCN Red List of Threatened Species. 2015: e.T136893A50665029.
  4. 4.0 4.1 Luo, S.-J.; Kim, J.-H.; Johnson, W. E.; van der Walt, J.; Martenson, J.; Yuhki, N.; Miquelle, D. G.; Uphyrkina, O.; Goodrich, J. M.; Quigley, H. B.; Tilson, R.; Brady, G.; Martelli, P.; Subramaniam, V.; McDougal, C.; Hean, S.; Huang, S.-Q.; Pan, W.; Karanth, U. K.; Sunquist, M.; Smith, J. L. D.; O'Brien, S. J. (2004). "Phylogeography and genetic ancestry of tigers (Panthera tigris)". PLOS Biology. 2 (12): e442. doi:10.1371/journal.pbio.0020442. PMC 534810. PMID 15583716.
  5. Linnaeus, C. (1758). "Felis tigris". Caroli Linnæi Systema naturæ per regna tria naturæ, secundum classes, ordines, genera, species, cum characteribus, differentiis, synonymis, locis. Tomus I (decima, reformata ed.). Holmiae: Laurentius Salvius. p. 41.
  6. Mazák, V. (1968). "Nouvelle sous-espèce de tigre provenant de l'Asie du sud-est". Mammalia. 32 (1): 104−112. doi:10.1515/mamm.1968.32.1.104. S2CID 84054536.
  7. 7.0 7.1 Khan, M.K.M. (1986). "Tigers in Malaysia". The Journal of Wildlife and Parks. V: 1–23.
  8. Liu, Y.-C.; Sun, X.; Driscoll, C.; Miquelle, D. G.; Xu, X.; Martelli, P.; Uphyrkina, O.; Smith, J. L. D.; O’Brien, S. J.; Luo, S.-J. (2018). "Genome-wide evolutionary analysis of natural history and adaptation in the world's tigers". Current Biology. 28 (23): 3840–3849. doi:10.1016/j.cub.2018.09.019. PMID 30482605.
  9. Mazák, J. H.; Groves, C. P. (2006). "A taxonomic revision of the tigers (Panthera tigris)" (PDF). Mammalian Biology. 71 (5): 268–287. doi:10.1016/j.mambio.2006.02.007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-13.{{cite journal}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  10. Locke, A. (1956). The tigers of Terengganu. London: Museum Press Ltd.
  11. https://www.iucnredlist.org/species/136893/50665029
  12. https://www.nst.com.my/news/nation/2019/08/509651/malayan-tiger-teetering-brink-extinction-23-left-belum-temenggor-forest
  13. https://en.wikipedia.org/wiki/Malayan_tiger#cite_note-22
  14. https://www.worldofbuzz.com/expert-malaysian-tigers-could-go-extinct-as-early-as-2022-if-we-dont-take-action-now/

แหล่งข้อมูลอื่น