ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PhakkaponP (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Expand language||langcode=en||otherarticle=Act on National Flag and Anthem}} {{Infobox document |document_name = พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติ<br/>国旗及び国歌に関する法律 |image = 国旗及び国歌に関する法律.jpg|alt=ภาพกราดเจเพ็กของพระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติ |image_width = 150px |image_c...
 
PhakkaponP (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


มีทั้งปฏิกิริยาที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในบทบัญญัติของกฎหมาย แม้ว่าชาวญี่ปุ่นบางส่วนเห็นด้วยในบทบัญญัติ ผู้คนอีกส่วนรู้สึกว่าบทบัญญัติเป็นการเปลี่ยนแปลงสู่การกลับคืนของความรู้สึกและวัฒนธรรมชาตินิยม กล่าวคือ สภานิติบัญญัติผ่านกฎหมายนี้พอดีกับการเฉลิมฉลองการขึ้นครองราชย์ของ[[จักรพรรดิอากิฮิโตะ]] ในบรรดาประเทศที่ญี่ปุ่นยึดครองระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] บางส่วนรู้สึกว่าบทบัญญัติของกฎหมายและการถกเถียงเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการทหารและ[[ศาลเจ้ายาซูกูนิ]]เป็นเครื่องหมายบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงในประเทศญี่ปุ่นสู่[[คตินิยมสุดขีดในประเทศญี่ปุ่น|การเมืองฝั่งขวา]] อีกทั้งมีการคัดค้านในชั้นศาลโดยชาวญี่ปุ่นบางส่วนของข้อบังคับและคำสั่งรัฐบาลที่ออกตามการประกาศของกฎหมายนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ออกโดยคณะกรรมาธิการการศึกษาโตเกียว ผู้ฟ้องร้องมองว่ากฎหมายนี้ขัดแย้งกับ[[รัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น|รัฐธรรมนูญญี่ปุ่น]]<ref name="japantoday1">{{citation|url=https://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:r7CPYFjW80UJ:https://www.japantoday.com/category/national/view/teachers-lose-lawsuit-for-compensation-over-national-flag-anthem-issue+%22Teachers+lose+compensation+suit+over+national+flag,+anthem+issue%22&cd=4&hl=en&ct=clnk&gl=us&client=firefox-a&source=www.google.com |title=Teachers lose compensation suit over national flag, anthem issue |work=Japan Today: Japan News and Discussion |date=2010-01-28 |access-date=2011-05-31}} {{Dead link|date=April 2012|bot=H3llBot}}</ref><ref name="National anthem lawsuit rejected">{{citation|url=https://windsorstar.com/news/National+anthem+lawsuit+rejected/4865423/story.html |title=National anthem lawsuit rejected |work=The Windsor Star |date=2011-02-15 |access-date=2011-05-31}} {{Dead link|date=April 2012|bot=H3llBot}}</ref>
มีทั้งปฏิกิริยาที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในบทบัญญัติของกฎหมาย แม้ว่าชาวญี่ปุ่นบางส่วนเห็นด้วยในบทบัญญัติ ผู้คนอีกส่วนรู้สึกว่าบทบัญญัติเป็นการเปลี่ยนแปลงสู่การกลับคืนของความรู้สึกและวัฒนธรรมชาตินิยม กล่าวคือ สภานิติบัญญัติผ่านกฎหมายนี้พอดีกับการเฉลิมฉลองการขึ้นครองราชย์ของ[[จักรพรรดิอากิฮิโตะ]] ในบรรดาประเทศที่ญี่ปุ่นยึดครองระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] บางส่วนรู้สึกว่าบทบัญญัติของกฎหมายและการถกเถียงเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการทหารและ[[ศาลเจ้ายาซูกูนิ]]เป็นเครื่องหมายบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงในประเทศญี่ปุ่นสู่[[คตินิยมสุดขีดในประเทศญี่ปุ่น|การเมืองฝั่งขวา]] อีกทั้งมีการคัดค้านในชั้นศาลโดยชาวญี่ปุ่นบางส่วนของข้อบังคับและคำสั่งรัฐบาลที่ออกตามการประกาศของกฎหมายนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ออกโดยคณะกรรมาธิการการศึกษาโตเกียว ผู้ฟ้องร้องมองว่ากฎหมายนี้ขัดแย้งกับ[[รัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น|รัฐธรรมนูญญี่ปุ่น]]<ref name="japantoday1">{{citation|url=https://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:r7CPYFjW80UJ:https://www.japantoday.com/category/national/view/teachers-lose-lawsuit-for-compensation-over-national-flag-anthem-issue+%22Teachers+lose+compensation+suit+over+national+flag,+anthem+issue%22&cd=4&hl=en&ct=clnk&gl=us&client=firefox-a&source=www.google.com |title=Teachers lose compensation suit over national flag, anthem issue |work=Japan Today: Japan News and Discussion |date=2010-01-28 |access-date=2011-05-31}} {{Dead link|date=April 2012|bot=H3llBot}}</ref><ref name="National anthem lawsuit rejected">{{citation|url=https://windsorstar.com/news/National+anthem+lawsuit+rejected/4865423/story.html |title=National anthem lawsuit rejected |work=The Windsor Star |date=2011-02-15 |access-date=2011-05-31}} {{Dead link|date=April 2012|bot=H3llBot}}</ref>

== ตัวบทพระราชบัญญัติ ==
พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติรับรองนิชโชกิ<!--เป็นศัพท์ที่ใช้ในกฎหมาย บทความจะใช้ชื่อสามัญ "ฮิโนมารุ"-->ให้เป็นธงชาติและ''คิมิงาโยะ'' เป็นเพลงชาติ รายละเอียดของทั้งสองปรากฏอยู่ในภาคผนวก รวมถึงข้อกำหนดในการพิมพ์ธงและแผ่นโน้ตเพลง''คิมิงาโยะ'' กฎหมายไม่มีบทบัญญัติสำหรับการใช้หรือการดูแลรักษาไม่ให้สัญลักษณ์ทั้งสองเสื่อมไป<ref name="law"/> เป็นเหตุให้หน่วยงานและกระทรวงต่าง ๆ ในระดับชาติและระดับ[[จังหวัดของประเทศญี่ปุ่น|จังหวัด]]ต่างออกข้อบังคับเป็นของตนเอง<ref>{{Harvnb|Regarding the Treatment of the National Flag and Anthem 1999}}</ref><ref>{{Harvnb|Regarding the Treatment of the National and Prefectural Flags 2003}}</ref><ref>{{citation|url=http://www.mofa.go.jp/Mofaj/gaiko/local/database/pdfs/protocol200902.pdf |script-title=ja:プロトコール |trans-title=Protocol |access-date=2010-01-13 |date=February 2009 |publisher=Ministry of Foreign Affairs |language=ja |pages=5–10}}</ref> หากมีการบรรจุกฎเกี่ยวกับการใช้ธงชาติและเพลงชาติในพระราชบัญญัติ จะส่งผลให้ไม่ได้รับการสนับสนุนที่เพียงพอในการผ่านกฎหมายในสภานิติบัญญัติ<ref name="JPRI79"/>

=== บทบัญญัติของธงชาติ ===
[[ไฟล์:Construction sheet of the Japanese flag no text.svg|thumb|alt=ธงชาติมีอัตราส่วนสองในสาม เส้นผ่านศูนย์กลางของพระอาทิตย์คือสามส่วนห้าของความยาวธง พระอาทิตย์จัดวางไว้ตรงกลางพอดี|แผนภาพแสดงการวางและขนาดสัดส่วนขององค์ประกอบต่าง ๆ ของธง]]
การวาดและการพิมพ์รายละเอียดต่าง ๆ ของธงให้ไว้ในภาคผนวกแรก อัตราส่วนทั้งหมดของธงคือ ความยาว 2 หน่วยต่อความกว้าง 3 หน่วย (2:3) วงกลมรูปจานมีเส้นผ่านศูนย์กลางสามส่วนห้าของความสูงธงอยู่ตรงกลางของธงพอดี<ref name="sfcon"/><ref>{{Harvnb|Takenaka|2003|pp=68–69}}</ref> อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติอนุญาตให้ใช้และพิมพ์ธงที่ปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องโดยมีสัดส่วนย่อลงตามประกาศนายกรัฐมนตรีฉบับที่ 54 ใน ค.ศ. 1870 ซึ่งกำหนดให้ธงมีอัตราส่วนเจ็ดต่อสิบ (7:10) และวงกลมรูปจานสีแดงห่างออกจากจุดศูนย์กลางหนึ่งส่วนร้อยของความยาวธงไปยังทางด้านที่ติดกับเสาธง (hoist)<ref>{{Harvnb|Prime Minister's Proclamation No. 57 1870}}</ref> พื้นหลังของธงเป็นสีขาว และวงกลมรูปจานสีแดง แต่สีต่างค่า​ (color shade) ที่แน่นอนไม่ได้ระบุไว้ในพระราชบัญญัติ<ref name="law">{{Harvnb|Act on National Flag and Anthem 1999}}</ref> คำอธิบายเพิ่มเติมจากรัฐบาลมีเพียงว่าสีแดงนั้นอยู่ในสีต่างค่าที่เข้มกว่าเท่านั้น<ref>{{citation|url=http://www.cao.go.jp/en/flag_anthem.html |title= National Flag & National Anthem |access-date=2010-01-02 |year=2006 |publisher=Cabinet Office, Government of Japan}}</ref> ข้อกำหนดที่เผยแพร่โดย[[กระทรวงป้องกันประเทศ (ญี่ปุ่น)|กระทรวงป้องกันประเทศ]]ใน ค.ศ. 2008 นั้นกำหนดค่าต่างสีของสีแดงในธงชาติ<ref name="z8701">{{citation |url=https://www.mod.go.jp/j/procurement/chotatsu/nds/pdf/z/z8701.pdf |title=Defense Specification Z 8701C (DSPZ8701C) |publisher=Ministry of Defense |language=ja |date=1973-11-27 |access-date=2009-07-09 |page=6 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120420171251/http://www.mod.go.jp/j/procurement/chotatsu/nds/pdf/z/z8701.pdf |archive-date=2012-04-20 |url-status=dead }}</ref> ระหว่างการพิจารณาในสภานิติบัญญัติแห่งชาติเกี่ยวกับร่างกฎหมายนี้ มีการเสนอแนะให้เลือกใช้ค่าต่างสีแดงจ้า (赤色, ''aka iro'') หรือเลือกจากถาดสี (color pool) ของ[[มาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น]]<ref>{{citation |url=http://kokkai.ndl.go.jp/SENTAKU/sangiin/145/0044/14508020044004a.html |script-title=ja:第145回国会 国旗及び国歌に関する特別委員会 第4号 |access-date=2010-02-01 |date=1999-08-02 |publisher=National Diet Library |trans-title=145th Meeting of the Diet, Discussion about the bill ''Law Regarding the National Flag and National Anthem'' |language=ja |archive-url=https://web.archive.org/web/20110819132720/http://kokkai.ndl.go.jp/SENTAKU/sangiin/145/0044/14508020044004a.html |archive-date=2011-08-19 |url-status=dead }}</ref>

=== บทบัญญัติของเพลงชาติ ===
{{ฟัง
|filename=Kimi ga Yo 1930.ogg
|title=Kimigayo
|description=A recording of the anthem from 1930
|format=[[Ogg]]
}}
เนื้อร้องและ[[โน้ตเพลง]]ของเพลงชาติให้ไว้ในภาคผนวกที่สอง ตัวบทพระราชบัญญัติไม่ได้ให้กิตติประกาศบุคคลผู้ประพันธ์เนื้อร้องหรือเพลงใดเลยแม้แต่คนเดียว แต่โน้ตเพลงให้กิตติประกาศแก่ [[ฮิโรโมริ ฮายาชิ]] สำหรับการเรียบเรียงดนตรี<ref name="law"/> อย่างไรก็ตาม หลักฐานชี้ให้เห็นว่า โยชิอิซะ โอกุ และ อากิโมริ ฮายาชิ (บุตรชายของฮิโรโมริ) เป็นผู้ประพันธ์ดนตรี โดยฮิโรโมริใส่ชื่อของเขาลงไปในโน้ตเพลงในฐานะผู้กำกับดูแลของทั้งสองและในฐานะสมุหกรมสังคีตของราชสำนัก<ref name="Telegraph">{{citation | first = Colin | last = Joyce | title = Briton who gave Japan its anthem | date = 2005-08-30 | url = https://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/japan/1497261/Briton-who-gave-Japan-its-anthem.html | work = The Daily Telegraph | access-date = 2010-10-21}}</ref> มีการประพันธ์ทำนองเสียงประสานแบบอย่างตะวันตกโดย [[ฟรันทซ์ เอ็กเกิร์ต]] และนำมาใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1880<ref name="webjapanen">{{citation |url=http://web-japan.org/factsheet/en/pdf/11NFlagAnthem.pdf |title=National Flag and Anthem |publisher=Japanese Ministry of Foreign Affairs |year=2000 |access-date=2009-12-11 |page=3}}</ref> เนื้อเรื้องบนโน้ตเพลงเขียนด้วยอักษร[[ฮิรางานะ]]และไม่มีการกล่าวถึง[[เทมโป]]สำหรับการเรียบเรียงเสียง เพลงชาติเล่นใน[[โหมดโดเรียน]]ด้วย[[เครื่องหมายกำหนดจังหวะ|จังหวะทั่วไป (4/4)]]<ref name="law"/>
{{Clear}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
=== งานอ้างอิง ===
; หนังสือ<!-- These are organized by author's last name. -->
{{refbegin}}
* {{citation |last1 = Amyx |first1 = Jennifer |last2 = Drysdale |first2 = Peter |title = Japanese Governance: Beyond Japan Inc.|publisher=Routledge |year=2003 |isbn=978-0-415-30469-6 |url = https://books.google.com/books?id=IOmsiRmjg6AC&q=Ichiro+Ozawa+kimigayo&pg=PA43 |ref = {{harvid|Amyx|2003}} }}
* {{citation |last = Aspinall |first = Robert W. |title=Teachers' Unions and the Politics of Education in Japan |publisher=State University of New York Press |year=2001 |url = https://books.google.com/books?id=zsdFCz-Il3EC&q=Japanese+flag+respect+foreign&pg=PA125 |isbn=978-0-7914-5050-5 }}
* {{citation |last1 = Boyd |first1 = Richard |last2 = Ngo |first2 = Tak-Wing |title = State Making in Asia |publisher=Routledge |year=2006 |isbn=978-0-415-34611-5 |url = https://books.google.com/books?id=r8IDxzZ4SQIC&q=kimigayo&pg=PA36 |ref ={{harvid|Boyd|2006}} }}
* {{citation |last1 = Goodman |first1 = Roger |last2 = Neary |first2 = Ian |title = Case Studies on Human Rights in Japan |publisher=Routledge |year=1996 |url = https://books.google.com/books?id=73sE6NkXPbAC&q=Japanese+flag+homes&pg=PA81 |isbn=978-1-873410-35-6 |ref = {{harvid|Goodman|1996}} }}
* {{citation |last = Hebert |first = David G. |title = Wind Bands and Cultural Identity in Japanese Schools |volume = 9 |pages = 239–250 |publisher=Springer |year=2011 |isbn=978-94-007-2178-4 |ref=no<!--{{harvid|Hebert|2011}}-->|doi = 10.1007/978-94-007-2178-4_16 |chapter = National Identity in the Japanese School Band |series = Landscapes: the Arts, Aesthetics, and Education }}
* {{citation |last = Hood |first = Christopher |title = Japanese Education Reform: Nakasone's Legacy |publisher=Routledge |year=2001 |isbn=978-0-415-23283-8 |url = https://books.google.com/books?id=Nn9AG5ecIkUC&q=kimigayo+Hiroshima&pg=PA67 }}
* {{citation |last = Itoh |first = Mayumi |year=2003 |title = The Hatoyama Dynasty: Japanese Political Leadership Through the Generations |publisher=Palgrave Macmillan |isbn=978-1-4039-6331-4 |url = https://books.google.com/books?id=EUMgpxv6MSEC&q=Kimigayo&pg=206 }}
* {{citation |last1 = Lall |first1 = Marie |last2 = Vickers |first2 = Edward |title=Education as a Political Tool in Asia |publisher=Routledge |year=2003 |isbn=978-0-415-45259-5 |url = https://books.google.com/books?id=aAI-G2EuBr0C&q=anthem+Kakuei&pg=PA45 |ref = {{harvid|Lall|2003}} }}
* {{citation |last = McCormack |first = Gavan |title = The Emptiness of Japanese Affluence |publisher=M. E. Sharpe |year=2001 |isbn=978-0-7656-0768-3 |url = https://books.google.com/books?id=MBvqUzE0ZgEC&q=Ichiro+Ozawa+anthem&pg=PR17 }}
* {{citation |last1 = Okano |first1 = Kaori |last2 = Tsuchiya |first2 = Motonori |title = Education in Contemporary Japan |publisher=Cambridge University Press |year=1999 |isbn=978-0-521-62686-6 |url = https://books.google.com/books?id=SpZqnFHPBzMC&q=kimigayo+Kakuei&pg=PA237 |ref = {{harvid|Okano|1999}} }}
* {{citation |last = Reed |first = Steven |title=Japanese Electoral Politics: Creating a New Party System |publisher=Routledge |year=2003|isbn=978-0-415-31140-3 |url = https://books.google.com/books?id=BZ7Jk8C64H0C&q=Ozawa+flag+1999&pg=PA27 }}
* {{citation |last = Stockwin |first = James |title = Dictionary of the Modern Politics of Japan |publisher=Routledge |year=2003 |isbn=978-0-415-15170-2 |url = https://books.google.com/books?id=OElxkdTcuCAC&q=Ichiro+Ozawa+kimigayo&pg=PA180 }}
* {{citation |last = Takenaka |first = Yoshiharu |year=2003 |script-title = ja:知っておきたい国旗・旗の基礎知識 |trans-title = Flag basics you should know |language = ja |publisher=Gifu Shimbun |isbn=978-4-87797-054-3 |url = https://books.google.com/books?id=Mk_0AAAACAAJ }}
* {{citation |author1=Turnbull, Stephen |author2=Howard Gerrard |title = Ashigaru 1467–1649 |publisher=Osprey Publishing |year=2001 |isbn=978-1-84176-149-7 |url = https://books.google.com/books?id=39cDtcRORS8C |ref = {{harvid|Turnbull|2001}} }}
* {{citation |last1 = Williams |first1 = David |last2 = Kersten |first2 = Rikki |title = The Left in the Shaping of Japanese Democracy |publisher=Routledge |year=2006 |isbn=978-0-415-33435-8 |url = https://books.google.com/books?id=0inRvBykKqcC&q=kimigayo+definition&pg=PA91 |ref = {{harvid|Williams|2006}} }}
{{refend}}

; บทกฎหมาย<!-- These are organized by the year of adoption. -->
{{refbegin}}
* {{citation |script-title = ja:明治3年太政官布告第57号 |trans-title=Prime Minister's Proclamation No.&nbsp;57 |url = http://www.pref.nara.jp/somu-so/jourei/reiki_honbun/k4010086001.html |access-date=2010-02-06 |date=1870-02-27 |publisher=Government of Nara Prefecture |language = ja |ref = {{harvid|Prime Minister's Proclamation No. 57 1870}} |url-status=dead |archive-url = https://web.archive.org/web/20110608134519/http://www.pref.nara.jp/somu-so/jourei/reiki_honbun/k4010086001.html |archive-date = 2011-06-08 }}
* {{citation |url = http://www.kantei.go.jp/foreign/constitution_and_government_of_japan/constitution_e.html |title = Constitution of Japan |access-date=2010-10-13|date=1946-11-03|publisher=Official Website of the Prime Minister of Japan and His Cabinet |ref ={{harvid|Constitution of Japan}} |archive-url = https://web.archive.org/web/20110409032655/http://www.kantei.go.jp/foreign/constitution_and_government_of_japan/constitution_e.html |archive-date=2011-04-09 |url-status=dead }}
* {{citation |url = http://law.e-gov.go.jp/htmldata/S29/S29SE179.html |script-title = ja:自衛隊法施行令 |trans-title = Self-Defense Forces Law Enforcement Order |publisher=Government of Japan |language = ja |date=1954-06-30 |access-date=2008-01-25 |ref = {{harvid|Self-Defense Forces Law Enforcement Order 1954}} |archive-url = https://web.archive.org/web/20080407050124/http://law.e-gov.go.jp/htmldata/S29/S29SE179.html |archive-date=2008-04-07 |url-status=dead }}
* {{citation |script-title = ja:国旗及び国歌に関する法律 (法律第百二十七号) |trans-title = Act on National Flag and Anthem, Act No.&nbsp;127 |url = http://law.e-gov.go.jp/htmldata/H11/H11HO127.html |access-date=2010-02-06 |date=1999-08-13 |publisher=Government of Japan |language = ja |ref = {{harvid|Act on National Flag and Anthem 1999}} |archive-url = https://web.archive.org/web/20100521050156/http://law.e-gov.go.jp/htmldata/H11/H11HO127.html |archive-date=2010-05-21 |url-status=dead }}
* {{citation |url = http://www.police.pref.hokkaido.jp/koukai/tuutatu/keimu/keimu-105.html |script-title = ja:国旗及び国歌の取扱いについて |trans-title = Regarding the Treatment of the National Flag and Anthem |access-date=2010-01-14 |date=1999-11-18 |publisher=Police of the Hokkaido Prefecture |language= ja |ref = {{harvid|Regarding the Treatment of the National Flag and Anthem 1999}} |url-status=dead |archive-url = https://web.archive.org/web/20080506115241/http://www.police.pref.hokkaido.jp/koukai/tuutatu/keimu/keimu-105.html |archive-date=2008-05-06 }}
* {{citation |url = http://www.police.pref.kanagawa.jp/notice/pdf/a00002.pdf |script-title = ja:国旗及び県旗の取扱いについて |trans-title=Regarding the Treatment of the National and Prefectural Flags|access-date=2010-10-22 |date=2003-03-29 |publisher=Police of Kanagawa Prefecture |language = ja |ref = {{harvid|Regarding the Treatment of the National and Prefectural Flags 2003}} }}
* {{citation |url = http://www.clearing.mod.go.jp/kunrei_data/a_fd/1955/ax19551227_00044_000.pdf |script-title = ja:海上自衛隊旗章規則 |trans-title=JMSDF Flag and Emblem Rules |access-date=2009-09-25 |date=2008-03-25 |publisher=Ministry of Defense |language= ja |ref={{harvid|JMSDF Flag and Emblem Rules 2008}} }}
{{refend}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:33, 7 สิงหาคม 2565

พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติ
国旗及び国歌に関する法律
ตามที่ประกาศในกิจจานุเบกษา (13 สิงหาคม ค.ศ. 1999)
ให้สัตยาบัน13 สิงหาคม ค.ศ. 1999
ที่ตั้งประเทศญี่ปุ่น
วัตถุประสงค์ให้สัตยาบันธงชาติและเพลงชาติแห่งญี่ปุ่น

พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติ (ญี่ปุ่น: 国旗及び国歌に関する法律โรมาจิKokki Oyobi Kokka ni Kansuru Hōritsu, ย่อเป็น 国旗国歌法[1]) เป็นกฎหมายที่รับรองธงชาติและเพลงชาติของญี่ปุ่น ก่อนการให้สัตยาบันในวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1999 ประเทศญี่ปุ่นไม่มีธงชาติหรือเพลงชาติอย่างเป็นทางการ ธงนิชโชกิ (日章旗, nisshōki) ซึ่งมักเรียกว่า "ธงฮิโนมารุ" (日の丸, hinomaru)[2] เป็นสัญลักษณ์แทนประเทศญี่ปุ่นอย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่ ค.ศ. 1870 ขณะที่การใช้ "คิมิงาโยะ" (君が代, kimigayo) เป็นเพลงชาติโดยพฤตินัยนั้นเริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1880

หลังการพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง มีการเสนอแนะให้ตรากฎหมายให้ฮิโนมารุ และคิมิงาโยะ เป็นสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการของญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม การตรากฎหมายดังกล่าวไม่ผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติจากการคัดค้านของสหภาพครูญี่ปุ่น (Japan Teachers Union) ที่ยืนกรานว่าฮิโนมารุ และคิมิงาโยะ มีความสัมพันธ์กับลัทธิทหารญี่ปุ่น หลังการกระทำอัตนิบาตกรรมของผู้อำนวยการโรงเรียนในฮิโรชิมะต่อข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้ธงชาติและเพลงชาติในพิธีโรงเรียน มีการเสนอให้รับรองทั้งฮิโนมารุ และคิมิงาโยะ อย่างเป็นทางการ

หลังการลงมติของทั้งสองสภา สภานิติบัญญัติผ่านกฎหมายรับรองธงชาติและเพลงชาติในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1999 ประกาศและบังคับใช้ในวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1999 กฎหมายนี้ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในกฎหมายที่ผ่านโดยสภานิติบัญญัติซึ่งมีการโต้แย้งเป็นอย่างมากในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 อีกทั้งการถกเถียงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายยังทำให้เกิดการแตกแยกของผู้นำพรรคฝ่ายค้าน พรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่น (DPJ) และความปรองดองของพรรคฝ่ายรัฐบาล พรรคเสรีประชาธิปไตย (LDP) และพรรคร่วมรัฐบาล

มีทั้งปฏิกิริยาที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในบทบัญญัติของกฎหมาย แม้ว่าชาวญี่ปุ่นบางส่วนเห็นด้วยในบทบัญญัติ ผู้คนอีกส่วนรู้สึกว่าบทบัญญัติเป็นการเปลี่ยนแปลงสู่การกลับคืนของความรู้สึกและวัฒนธรรมชาตินิยม กล่าวคือ สภานิติบัญญัติผ่านกฎหมายนี้พอดีกับการเฉลิมฉลองการขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิอากิฮิโตะ ในบรรดาประเทศที่ญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บางส่วนรู้สึกว่าบทบัญญัติของกฎหมายและการถกเถียงเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการทหารและศาลเจ้ายาซูกูนิเป็นเครื่องหมายบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงในประเทศญี่ปุ่นสู่การเมืองฝั่งขวา อีกทั้งมีการคัดค้านในชั้นศาลโดยชาวญี่ปุ่นบางส่วนของข้อบังคับและคำสั่งรัฐบาลที่ออกตามการประกาศของกฎหมายนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ออกโดยคณะกรรมาธิการการศึกษาโตเกียว ผู้ฟ้องร้องมองว่ากฎหมายนี้ขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญญี่ปุ่น[3][4]

ตัวบทพระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติรับรองนิชโชกิให้เป็นธงชาติและคิมิงาโยะ เป็นเพลงชาติ รายละเอียดของทั้งสองปรากฏอยู่ในภาคผนวก รวมถึงข้อกำหนดในการพิมพ์ธงและแผ่นโน้ตเพลงคิมิงาโยะ กฎหมายไม่มีบทบัญญัติสำหรับการใช้หรือการดูแลรักษาไม่ให้สัญลักษณ์ทั้งสองเสื่อมไป[5] เป็นเหตุให้หน่วยงานและกระทรวงต่าง ๆ ในระดับชาติและระดับจังหวัดต่างออกข้อบังคับเป็นของตนเอง[6][7][8] หากมีการบรรจุกฎเกี่ยวกับการใช้ธงชาติและเพลงชาติในพระราชบัญญัติ จะส่งผลให้ไม่ได้รับการสนับสนุนที่เพียงพอในการผ่านกฎหมายในสภานิติบัญญัติ[9]

บทบัญญัติของธงชาติ

ธงชาติมีอัตราส่วนสองในสาม เส้นผ่านศูนย์กลางของพระอาทิตย์คือสามส่วนห้าของความยาวธง พระอาทิตย์จัดวางไว้ตรงกลางพอดี
แผนภาพแสดงการวางและขนาดสัดส่วนขององค์ประกอบต่าง ๆ ของธง

การวาดและการพิมพ์รายละเอียดต่าง ๆ ของธงให้ไว้ในภาคผนวกแรก อัตราส่วนทั้งหมดของธงคือ ความยาว 2 หน่วยต่อความกว้าง 3 หน่วย (2:3) วงกลมรูปจานมีเส้นผ่านศูนย์กลางสามส่วนห้าของความสูงธงอยู่ตรงกลางของธงพอดี[2][10] อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติอนุญาตให้ใช้และพิมพ์ธงที่ปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องโดยมีสัดส่วนย่อลงตามประกาศนายกรัฐมนตรีฉบับที่ 54 ใน ค.ศ. 1870 ซึ่งกำหนดให้ธงมีอัตราส่วนเจ็ดต่อสิบ (7:10) และวงกลมรูปจานสีแดงห่างออกจากจุดศูนย์กลางหนึ่งส่วนร้อยของความยาวธงไปยังทางด้านที่ติดกับเสาธง (hoist)[11] พื้นหลังของธงเป็นสีขาว และวงกลมรูปจานสีแดง แต่สีต่างค่า​ (color shade) ที่แน่นอนไม่ได้ระบุไว้ในพระราชบัญญัติ[5] คำอธิบายเพิ่มเติมจากรัฐบาลมีเพียงว่าสีแดงนั้นอยู่ในสีต่างค่าที่เข้มกว่าเท่านั้น[12] ข้อกำหนดที่เผยแพร่โดยกระทรวงป้องกันประเทศใน ค.ศ. 2008 นั้นกำหนดค่าต่างสีของสีแดงในธงชาติ[13] ระหว่างการพิจารณาในสภานิติบัญญัติแห่งชาติเกี่ยวกับร่างกฎหมายนี้ มีการเสนอแนะให้เลือกใช้ค่าต่างสีแดงจ้า (赤色, aka iro) หรือเลือกจากถาดสี (color pool) ของมาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น[14]

บทบัญญัติของเพลงชาติ

เนื้อร้องและโน้ตเพลงของเพลงชาติให้ไว้ในภาคผนวกที่สอง ตัวบทพระราชบัญญัติไม่ได้ให้กิตติประกาศบุคคลผู้ประพันธ์เนื้อร้องหรือเพลงใดเลยแม้แต่คนเดียว แต่โน้ตเพลงให้กิตติประกาศแก่ ฮิโรโมริ ฮายาชิ สำหรับการเรียบเรียงดนตรี[5] อย่างไรก็ตาม หลักฐานชี้ให้เห็นว่า โยชิอิซะ โอกุ และ อากิโมริ ฮายาชิ (บุตรชายของฮิโรโมริ) เป็นผู้ประพันธ์ดนตรี โดยฮิโรโมริใส่ชื่อของเขาลงไปในโน้ตเพลงในฐานะผู้กำกับดูแลของทั้งสองและในฐานะสมุหกรมสังคีตของราชสำนัก[15] มีการประพันธ์ทำนองเสียงประสานแบบอย่างตะวันตกโดย ฟรันทซ์ เอ็กเกิร์ต และนำมาใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1880[16] เนื้อเรื้องบนโน้ตเพลงเขียนด้วยอักษรฮิรางานะและไม่มีการกล่าวถึงเทมโปสำหรับการเรียบเรียงเสียง เพลงชาติเล่นในโหมดโดเรียนด้วยจังหวะทั่วไป (4/4)[5]

อ้างอิง

  1. 麻生内閣総理大臣記者会見 [Prime Minister Aso Cabinet Press Conference] (ภาษาญี่ปุ่น), Office of the Prime Minister of Japan, 2009-07-21, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-04, สืบค้นเมื่อ 2010-01-14
  2. 2.0 2.1 Basic / General Information on Japan, Consulate-General of Japan in San Francisco, 2008-01-01, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 11, 2007, สืบค้นเมื่อ 2009-11-19
  3. "Teachers lose compensation suit over national flag, anthem issue", Japan Today: Japan News and Discussion, 2010-01-28, สืบค้นเมื่อ 2011-05-31 [ลิงก์เสีย]
  4. "National anthem lawsuit rejected", The Windsor Star, 2011-02-15, สืบค้นเมื่อ 2011-05-31 [ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Act on National Flag and Anthem 1999
  6. Regarding the Treatment of the National Flag and Anthem 1999
  7. Regarding the Treatment of the National and Prefectural Flags 2003
  8. プロトコール [Protocol] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น), Ministry of Foreign Affairs, February 2009, pp. 5–10, สืบค้นเมื่อ 2010-01-13
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ JPRI79
  10. Takenaka 2003, pp. 68–69
  11. Prime Minister's Proclamation No. 57 1870
  12. National Flag & National Anthem, Cabinet Office, Government of Japan, 2006, สืบค้นเมื่อ 2010-01-02
  13. Defense Specification Z 8701C (DSPZ8701C) (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น), Ministry of Defense, 1973-11-27, p. 6, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-04-20, สืบค้นเมื่อ 2009-07-09
  14. 第145回国会 国旗及び国歌に関する特別委員会 第4号 [145th Meeting of the Diet, Discussion about the bill Law Regarding the National Flag and National Anthem] (ภาษาญี่ปุ่น), National Diet Library, 1999-08-02, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-19, สืบค้นเมื่อ 2010-02-01
  15. Joyce, Colin (2005-08-30), "Briton who gave Japan its anthem", The Daily Telegraph, สืบค้นเมื่อ 2010-10-21
  16. National Flag and Anthem (PDF), Japanese Ministry of Foreign Affairs, 2000, p. 3, สืบค้นเมื่อ 2009-12-11

งานอ้างอิง

หนังสือ
บทกฎหมาย
  • 明治3年太政官布告第57号 [Prime Minister's Proclamation No. 57] (ภาษาญี่ปุ่น), Government of Nara Prefecture, 1870-02-27, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-08, สืบค้นเมื่อ 2010-02-06
  • Constitution of Japan, Official Website of the Prime Minister of Japan and His Cabinet, 1946-11-03, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-09, สืบค้นเมื่อ 2010-10-13
  • 自衛隊法施行令 [Self-Defense Forces Law Enforcement Order] (ภาษาญี่ปุ่น), Government of Japan, 1954-06-30, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-07, สืบค้นเมื่อ 2008-01-25
  • 国旗及び国歌に関する法律 (法律第百二十七号) [Act on National Flag and Anthem, Act No. 127] (ภาษาญี่ปุ่น), Government of Japan, 1999-08-13, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-21, สืบค้นเมื่อ 2010-02-06
  • 国旗及び国歌の取扱いについて [Regarding the Treatment of the National Flag and Anthem] (ภาษาญี่ปุ่น), Police of the Hokkaido Prefecture, 1999-11-18, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-06, สืบค้นเมื่อ 2010-01-14
  • 国旗及び県旗の取扱いについて [Regarding the Treatment of the National and Prefectural Flags] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น), Police of Kanagawa Prefecture, 2003-03-29, สืบค้นเมื่อ 2010-10-22
  • 海上自衛隊旗章規則 [JMSDF Flag and Emblem Rules] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น), Ministry of Defense, 2008-03-25, สืบค้นเมื่อ 2009-09-25

แหล่งข้อมูลอื่น