เหตุปะทะในลาฮัดดาตู พ.ศ. 2556

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เหตุปะทะในลาฮัดดาตู พ.ศ. 2556
ส่วนหนึ่งของ ข้อพิพาทบอร์เนียวเหนือ
แผนที่แสดงจุดเกิดเหตุ
แผนที่จุดเกิดเหตุ
วันที่11 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2556 - ปัจจุบัน
สถานที่
พื้นที่ตะวันออกของรัฐซาบะฮ์ มาเลเซีย
ผล กองกำลังของซูลูถูกปราบปราม
คู่สงคราม
รัฐสุลต่านซูลู มาเลเซีย มาเลเซีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สุลต่านจามาลิล กีรามที่ 3
อังไบมุดดิน กีราม
นาจิบ ราซะก์
ฮิซัมมุดดิน ฮุสเซ็น
อมัดห์ ซาฮิด ฮามิดิ
อิสมาอิล โอมาร์
กำลัง
กองกำลังติดอาวุธ 235 คน ทหาร/ตำรวจ 6,000 นาย
เครื่องบินขับไล่ >3 ลำ
ความสูญเสีย
ตาย: 53
บาดเจ็บ: 11
ถูกจับกุม: 4
ตาย: 8
บาดเจ็บ: 3

เหตุปะทะในลาฮัดดาตู พ.ศ. 2556 มีขึ้นหลังชาวฟิลิปปินส์ 235 คน ซึ่งบางส่วนมีอาวุธ ล่องเรือขึ้นฝั่งในลาฮัดดาตู (Lahad Datu) รัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556[1][2][3] กลุ่มดังกล่าว ซึ่งเรียกตัวเองว่า "กองกำลังความมั่นคงแห่งรัฐสุลต่านซูลูและบอร์เนียวเหนือ"[1] ถูกส่งมาโดย สุลต่านจามาลิล กีรามที่ 3 หนึ่งในผู้อ้างสิทธิ์ราชบัลลังก์รัฐสุลต่านซูลู คิรามแถลงว่า เป้าหมายของพวกเขา คือ ยืนยันการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนซาบะฮ์ตะวันออก (เดิมคือ บอร์เนียวเหนือ) ที่ยังไม่มีข้อยุติ[4]

กองกำลังความมั่นคงของมาเลเซียล้อมหมู่บ้านแห่งหนึ่งในลาฮัดดาตูที่คนกลุ่มดังกล่าวชุมนุมกัน ขณะที่การเจรจาหาทางออกอย่างสันติกำลังดำเนินอยู่[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Heirs of Sultan of Sulu pursue Sabah claim on their own". Philippine Daily Inquirer. 16 February 2013. สืบค้นเมื่อ 20 February 2013.
  2. Ubac, Michael Lim; Pazzibugan, Dona Z. (3 March 2013). "No surrender, we stay". Philippine Daily Inquirer. สืบค้นเมื่อ 3 March 2013.
  3. Mullen, Jethro (15 February 2013). "Filipino group on Borneo claims to represent sultanate, Malaysia says". CNN. สืบค้นเมื่อ February 25, 2013.
  4. Frialde, Mike (23 February 2013). "Sultanate of Sulu wants Sabah returned to Phl". The Philippine Star. สืบค้นเมื่อ 24 February 2013.
  5. "PH calls for peaceful solution to Borneo standoff". Philippine Daily Inquirer. 17 February 2013. สืบค้นเมื่อ 19 February 2013.