ข้ามไปเนื้อหา

ฮะมาฮ์

พิกัด: 35°08′N 36°45′E / 35.133°N 36.750°E / 35.133; 36.750
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฮะมาฮ์

حَمَاة
นคร
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
ตึกระฟ้าฮะมาฮ์, ระหัดแห่งฮะมาฮ์, พระราชวังอัลอัซม์, มัสยิด Al-Hassanein, มัสยิดนูรุดดีน, Khan Rustem Pasha
สมญา: 
มารดาแห่งระหัด (أم النواعير)
นครอะบูลฟิดาอ์ (مدينة أبي الفداء)
ฮะมาฮ์ตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย
ฮะมาฮ์
ฮะมาฮ์
ที่ตั้งในประเทศซีเรีย
ฮะมาฮ์ตั้งอยู่ในเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก
ฮะมาฮ์
ฮะมาฮ์
ฮะมาฮ์ (เมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก)
พิกัด: 35°08′N 36°45′E / 35.133°N 36.750°E / 35.133; 36.750
ประเทศ ซีเรีย
เขตผู้ว่าการฮะมาฮ์
อำเภอฮะมาฮ์
ตำบลฮะมาฮ์
ตั้งถิ่นฐานครั้งแรก1500 ปีก่อน ค.ศ.
การปกครอง
 • ผู้ว่าการMahmoud Zanubua[2]
ความสูง305 เมตร (1,001 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน 2004)
 • ทั้งหมด312,994[1] คน
 • กลุ่มชาติพันธุ์ชาวซีเรีย
 • ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี
คริสต์จักรออร์ทอดอกซ์ซีเรีย
คริสต์จักรออร์ทอดอกซ์กรีก
เขตเวลาUTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก)
รหัสพื้นที่รหัสประเทศ: 963
รหัสเมือง: 33
รหัสภูมิศาสตร์C2987
ภูมิอากาศBSk
เว็บไซต์www.ehama.sy

ฮะมาฮ์ (อาหรับ: حَمَاة, [ħaˈmaː]; ซีรีแอก: ܚܡܬ, อักษรโรมัน: ħ(ə)mɑθ, แปลตรงตัว'ป้อมปราการ'; ฮีบรูไบเบิล: חֲמָת Ḥamāṯ) เป็นเมืองในประเทศซีเรีย บนฝั่งแม่น้ำออรอนตีส ตอนกลางของประเทศ เป็นเมืองสำคัญด้านการค้า ตั้งอยู่ทางเหนือของดามัสกัส 213 กิโลเมตร (132 ไมล์) และทางเหนือของฮอมส์ 46 กิโลเมตร (29 ไมล์) โดยเป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการฮะมาฮ์ที่มีประชากร 854,000 คน (สำมะโน ค.ศ. 2009) และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศ เป็นรองเพียงดามัสกัส, อะเลปโป และฮอมส์[3][4] เมืองนี้มีชื่อเสียงในเรื่องกังหันทดน้ำมาตั้งแต่สมัยกลาง

มีการกล่าวถึงเมืองนี้บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิลในฐานะเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาณาจักรอิสราเอล เป็นที่ตั้งถิ่นฐานในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ต่อมาเปลี่ยนไปอยู่ใต้การปกครองของอะราเมีย อัสซีเรีย เปอร์เซีย มาซิโดเนีย โรมัน ไบแซนไทน์ อาหรับ และอียิปต์ ตามลำดับ จนในปี ค.ศ. 1941 เป็นส่วนหนึ่งของประเทศซีเรีย ในปี ค.ศ. 1982 ได้รับความเสียหายอย่างมากจากการปราบปรามการจลาจลของชาวมุสลิม

ภูมิอากาศ

[แก้]

ภูมิอากาศของเมืองฮะมาฮ์อยู่ในสภาพกึ่งแห้งแล้ง (BSk) ตามระบบเคิพเพิน[5] ที่ตั้งของเมืองไม่มีอิทธิพลของชายฝั่งและสายลมจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทำให้นครนี้มีอากาศร้อนกว่าและภูมอากาศแห้งกว่าเมืองฮอมส์ที่อยู่ใกล้เคียง

ข้อมูลภูมิอากาศของฮะมาฮ์ (ค.ศ. 1961–1990, สูงสุด ค.ศ. 1956–2004)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 20.0
(68)
23.1
(73.6)
28.0
(82.4)
36.2
(97.2)
41.0
(105.8)
42.0
(107.6)
45.2
(113.4)
45.0
(113)
42.2
(108)
37.6
(99.7)
31.0
(87.8)
25.2
(77.4)
45.2
(113.4)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 11.4
(52.5)
13.8
(56.8)
17.9
(64.2)
23.1
(73.6)
29.3
(84.7)
33.8
(92.8)
36.2
(97.2)
36.2
(97.2)
33.8
(92.8)
27.6
(81.7)
19.7
(67.5)
13.1
(55.6)
24.7
(76.5)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 6.6
(43.9)
8.3
(46.9)
11.6
(52.9)
15.9
(60.6)
21.1
(70)
25.8
(78.4)
28.2
(82.8)
27.9
(82.2)
25.3
(77.5)
19.3
(66.7)
12.7
(54.9)
7.9
(46.2)
17.5
(63.5)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 2.9
(37.2)
3.3
(37.9)
5.4
(41.7)
8.8
(47.8)
12.9
(55.2)
17.4
(63.3)
20.2
(68.4)
20.1
(68.2)
17.1
(62.8)
12.4
(54.3)
6.6
(43.9)
3.7
(38.7)
10.9
(51.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -8.3
(17.1)
-7.3
(18.9)
-3.0
(26.6)
-0.5
(31.1)
5.9
(42.6)
10.6
(51.1)
14.7
(58.5)
14.0
(57.2)
9.5
(49.1)
2.2
(36)
-3.7
(25.3)
-5.5
(22.1)
−8.3
(17.1)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 72.5
(2.854)
54.3
(2.138)
49.3
(1.941)
32.3
(1.272)
10.3
(0.406)
3.8
(0.15)
0.4
(0.016)
0.1
(0.004)
1.8
(0.071)
21.4
(0.843)
40.0
(1.575)
66.5
(2.618)
352.7
(13.886)
ความชื้นร้อยละ 81 75 69 61 49 40 39 42 43 51 69 83 58
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 9.9 8.1 7.4 4.5 1.8 0.3 0.0 0.0 0.3 2.8 5.1 9.0 49.2
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 127.1 151.2 217.0 249.0 325.5 366.0 387.5 356.5 312.0 257.3 192.0 130.2 3,071.3
แหล่งที่มา 1: NOAA[6]
แหล่งที่มา 2: Deutscher Wetterdienst (สูงสุด 1956–2004, และความชื้น 1973–1993)[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "2004 official census" (PDF). cbss. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 March 2013. สืบค้นเมื่อ 4 November 2013.
  2. "President al-Assad issues decrees on appointing new governors for eight Syrian provinces". Syrian Arab News Agency. 20 July 2022. สืบค้นเมื่อ 15 August 2022.
  3. Updated: Your Cheat Sheet to the Syrian Conflict. PBS.
  4. "Hamah (Syria)". Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 3 June 2013.
  5. M. Kottek; J. Grieser; C. Beck; B. Rudolf; F. Rubel (2006). "World Map of the Köppen-Geiger climate classification updated". Meteorol. Z. 15 (3): 259–263. Bibcode:2006MetZe..15..259K. doi:10.1127/0941-2948/2006/0130. สืบค้นเมื่อ 1 August 2013.
  6. "Hama Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 26 April 2017.
  7. "Klimatafel von Hama / Syrien" (PDF). Baseline climate means (1961–1990) from stations all over the world (ภาษาเยอรมัน). Deutscher Wetterdienst. สืบค้นเมื่อ 26 April 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]