ข้ามไปเนื้อหา

รายการสถิติพายุหมุนเขตร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือรายการบันทึกสถิติของพายุหมุนเขตร้อน[1]

การบันทึกสถิติที่สำคัญ

[แก้]
ลักษณะเฉพาะ บันทึกสถิติ วันที่ สถานที่ บันทึก
มีความรุนแรงสูงสุด
(ด้านความกดอากาศต่ำสุดที่ศูนย์กลาง)
870 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล) (25.69 นิ้วปรอท) 12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 พายุไต้ฝุ่นทิป ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ [2][3]
มีความรุนแรงสูงสุด
(ด้านความเร็วลมเฉลี่ยรอบพื้นผิวใน 1 นาทีอย่างเป็นทางการ)
90 ม./ว. (200 ไมล์ต่อชั่วโมง, 175 นอต, 325 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558 พายุเฮอร์ริเคนแพทริเซีย ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก [4]
มีความรุนแรงสูงสุด
(ด้านความเร็วลมเฉลี่ยรอบพื้นผิวใน 1 นาที)1
96 ม./ว. (215 ไมล์ต่อชั่วโมง, 186 นอต, 345 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 12 กันยายน พ.ศ. 2504 พายุไต้ฝุ่นแนนซี ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ [3]
มีความรุนแรงสูงสุด
(ด้านความเร็วลมเฉลี่ยรอบพื้นผิวใน 10 นาที)
72 ม./ว. (160 ไมล์ต่อชั่วโมง, 140 นอต, 260 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 พายุไต้ฝุ่นทิป ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ [5]
ทวีกำลังแรงอย่างรวดเร็วที่สุด เปลี่ยนแปลง 100 มิลลิบาร์ (hPa) จาก 976 มิลลิบาร์ (hPa) สู่ 876 มิลลิบาร์ (hPa) ภายใน 24 ชั่วโมง 22 - 23 กันยายน พ.ศ. 2526 พายุไต้ฝุ่นฟอร์เรสท์ ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ [6][7]
ก่อให้เกิดลมกระโชกแรงที่สุด 113 ม./ว. (253 ไมล์ต่อชั่วโมง, 220 นอต, 408 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 10 เมษายน พ.ศ. 2539 พายุไซโคลนโอลิเวีย ใน เกาะบาร์โรว์, ออสเตรเลีย [8]
ก่อให้เกิดน้ำขึ้นจากพายุสูงที่สุด 14.5 เมตร (48 ฟุต) 5 มีนาคม พ.ศ. 2442 พายุไซโคลนมาฮินา ใน อ่าวบาเทิร์สต์, รัฐควีนส์แลนด์, ออสเตรเลีย [9]
มีปริมาณน้ำฝนสะสมสูงที่สุด 6,083 มม. (239.5 นิ้ว) 14 - 28 มกราคม พ.ศ. 2523 พายุไซโคลนไฮอะซินท์ ใน เกาะเรอูว์นียง [10]
พายุหมุนเขตร้อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
(โดยเส้นผ่าศูนย์กลาง)
ลมพายุ (17 ม./ว., 34 kt, 39 ไมล์/ชม., 63 กม./ชม.) แผ่ออกไป 2,220 กิโลเมตร (1,380 ไมล์) 12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 พายุไต้ฝุ่นทิป ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ [2][11]
พายุหมุนเขตร้อนที่มีขนาดเล็กที่สุด
(โดยลมนับจากศูนย์กลาง)
ลมพายุ (17 ม./ว., 34 kt, 39 ไมล์/ชม., 63 กม./ชม.) แผ่ออกไป 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) จากจุดศูนย์กลาง 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พายุโซนร้อนมาร์โค ใน อ่าวกัมเปเช [12]
มีตาพายุขนาดใหญ่ที่สุด
370 กิโลเมตร (230 ไมล์) 20 สิงหาคม พ.ศ. 2503 พายุไต้ฝุ่นคาร์เมน ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ [13]
มีตาพายุขนาดเล็กที่สุด
3.7 กิโลเมตร (2.3 ไมล์) 19 ตุลาคม พ.ศ. 2548 พายุเฮอร์ริเคนวิลมา ใน ทะเลแคริบเบียน [14]
มีตาพายุที่อุณหภูมิอุ่นที่สุด 32.2 °ซ (90.0 °ฟ) ที่ความสูง 758 hPa 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558 พายุเฮอร์ริเคนแพทริเซีย ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก [15]
พายุหมุนเขตร้อนที่ยาวนานที่สุด 31 วัน 11 สิงหาคม - 10 กันยายน พ.ศ. 2537 พายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่นจอห์น ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตะวันตกเฉียงเหนือ [16]
พายุหมุนเขตร้อนที่เดินทางยาวที่สุด 13,280 กิโลเมตร (7,165 ไมล์) 11 สิงหาคม - 10 กันยายน พ.ศ. 2537 พายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่นจอห์น ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตะวันตกเฉียงเหนือ [17]
มีความเร็วลมในระดับ 5นานที่สุด 5.50 วัน 9–14 กันยายน พ.ศ. 2504 พายุไต้ฝุ่นแนนซี ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก [18]
พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อความเสียหายมากที่สุด สร้างความเสียหาย 108 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินUSD ค.ศ. 2005 ) 29 สิงหาคม พ.ศ. 2548 พายุเฮอร์ริเคนแคทรีนา ในมหาสมุทรแอตแลนติกตะวันตก และ อ่าวเม็กซิโก [19]
พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อการเสียชีวิตมากที่สุด กว่า 500,000+ คน 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 พายุไซโคลนโบลาแห่งปี พ.ศ. 2513 ใน อ่าวเบงกอล [20][21]
ก่อตัวใกล้กับเส้นศูนย์สูตรมากที่สุด 1.4°  26 ธันวาคม พ.ศ. 2544 พายุโซนร้อนฮวาเหม่ย์ ใน ทะเลจีนใต้ [22]
มีกำลังเคลื่อนย้ายวัตถุธรรมชาติมากที่สุด 177 ตันสั้น (ตันสหรัฐอเมริกา) (354,000 ปอนด์) 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน ใน เกาะซามาร์, ฟิลิปปินส์ [23]

ดูเพิ่ม

[แก้]

บันทึก

[แก้]
^1 เป็นที่เชื่อถือกันว่าเครื่องบินสอดแนมที่บินไปปฎิบัติหน้าที่บินเร็วเกินความเร็วลมของพายุจากปี พ.ศ. 2483 ถึง พ.ศ. 2503 และข้อมูลจากช่วงเวลาเหล่านี้โดยทั่วไปถือว่าไม่น่าเชื่อถือ ดังนั้นการบันทึกสถิติที่ 215 ไมล์ต่อชั่วโมงของพายุไต้ฝุ่นแนนซีอาจจะสูงกว่าค่าจริง

อ้างอิง

[แก้]
  1. Cerveny, Randall S.; Jay Lawrimore; Roger Edwards; Christopher Landsea (June 2007). "Extreme Weather Records. Compilation, Adjudication, and Publication". Bulletin of the American Meteorological Society. 88 (6): 853–860. Bibcode:2007BAMS...88..853C. doi:10.1175/BAMS-88-6-853.
  2. 2.0 2.1 George M. Dunnavan & John W. Dierks (1980). "An Analysis of Super Typhoon Tip (October 1979)". Joint Typhoon Warning Center. สืบค้นเมื่อ 2007-01-24.
  3. 3.0 3.1 "Faq : Hurricanes, Typhoons, And Tropical Cyclones". Aoml.noaa.gov. สืบค้นเมื่อ 2008-12-23.
  4. "Hurricane Patricia NHC". National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ 2015-10-23.
  5. Japan Meteorological Agency (2010-01-12). "Best Track for Western North Pacific Tropical Cyclones". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (TXT)เมื่อ 2013-06-25. สืบค้นเมื่อ 2014-11-30.
  6. Japan Meteorological Agency (October 10, 1992). RSMC Best Track Data – 1980–1989 (Report). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (TXT)เมื่อ 2014-12-05. สืบค้นเมื่อ September 20, 2013.
  7. The Japan Meteorological Agency is the official Regional Specialized Meteorological Center for the western Pacific Ocean.
  8. "Info note No.58 — World Record Wind Gust: 408 km/h". World Meteorological Association. 2010-01-22.
  9. "Faq : Hurricanes, Typhoons, And Tropical Cyclones". Aoml.noaa.gov. สืบค้นเมื่อ 2008-12-23.
  10. "Some Remarkable Values in the SW Indian Ocean" (PDF). Meteo France. สืบค้นเมื่อ 2015-07-30.
  11. "Faq : Hurricanes, Typhoons, And Tropical Cyclones". Aoml.noaa.gov. สืบค้นเมื่อ 2008-12-23.
  12. NHC Hurricane Research Division (2008-01-01). "Atlantic hurricane best track ("HURDAT")". NOAA. สืบค้นเมื่อ 2008-10-08.
  13. Evans, Bill. It's Raining Fish and Spiders. Hurricane Extremes: Google Ebooks. สืบค้นเมื่อ 20 August 2015.
  14. A Dictionary of Weather. Weather Records: Storm Dunlop. สืบค้นเมื่อ 20 August 2015.
  15. Hurricane Hunters (October 23, 2015). "[Hurricane Patricia Decoded Dropsonde Information]". Tropical Globe. สืบค้นเมื่อ October 24, 2015.
  16. Dorst, Neal (2004). "Which tropical cyclone lasted the longest?". NOAA Tropical cyclone FAQ. NOAA. สืบค้นเมื่อ 2006-05-22.
  17. Neal Dorst (2006). "What is the farthest a tropical cyclone has traveled ?". Hurricane Research Division. สืบค้นเมื่อ 2007-02-23.
  18. "Faq : Hurricanes, Typhoons, And Tropical Cyclones". Aoml.noaa.gov. สืบค้นเมื่อ 2008-12-23.
  19. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-07-09. สืบค้นเมื่อ 2015-12-03.
  20. Frank, Neil; Husain, S. A. (June 1971). "The deadliest tropical cyclone in history?" (PDF). Bulletin of the American Meteorological Society. American Meteorological Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-06-24. สืบค้นเมื่อ 2007-04-15.
  21. The world's worst natural disasters Calamities of the 20th and 21st centuries CBC News'.' Retrieved 2010-10-29.
  22. Gary Padgett (2002). "December 2001 Worldwide Tropical Weather Summary". สืบค้นเมื่อ 2010-04-14.
  23. Hooper Ben (2014-12-19). "Supertyphoon moved 177-ton boulder 150 feet". UPI. สืบค้นเมื่อ 2014-12-19.