รถรางในโกลกาตา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถรางในโกลกาตา
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งโกลกาตา
ประเภทรถราง
จำนวนสาย25[1]
ผู้โดยสารต่อวัน10,000 คนต่อวัน
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงานค.ศ. 1873[2]
ผู้ดำเนินงานบริษัทรถรางโกลกาตา
รหัสตามตัวอักษรCTC
จำนวนขบวน257 คัน
(ให้บริการ 80 คัน)[3]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง8 กิโลเมตร[4]
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)[2]
การจ่ายไฟฟ้า550 โวลต์ ไฟฟ้ากระแสตรง-ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว
ผังเส้นทาง

ระบบรถรางในโกลกาตา รัฐเบงกอลตะวันตก ให้บริการโดยบริษัทรถรางโกลกาตา (CTC) ถือเป็นระบบรถรางเพียงแห่งเดียวของประเทศอินเดีย[5] และเป็นระบบรถรางไฟฟ้าที่เก่าแก่ที่สุดในทวีปเอเชีย เริ่มให้บริการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1902[6]

บริษัทรถรางโกลกาตา มีรถรางทั้งหมด 257 คัน ซึ่งวิ่ง 125 เที่ยวต่อวัน[3] รถแต่ละคนรองรับผู้โดยสารได้ 200 คน (60 ที่นั่ง) ศูนย์ซ่อมบำรุงมีทั้งหมด 7 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ Belgachhia, ราชบาซาร์, พาร์กเซอร์คัส, Gariahat, Tollygunge, Kalighat และ Khidirpur ระบบรถรางมีสถานีปลายทาง 9 แห่ง ได้แก่ สถานี Shyambazar, Galiff Street, Bidhannagar, Ballygunge, เอสพลานาด, B. B. D. Bagh และสะพาน Howrah และมีโรงงานผลิตรถรางที่ Nonapukur

ศูนย์ซ่อมบำรุงที่มีจำนวนรางและพื้นที่มากที่สุดคือศูนย์ราชบาซาร์ และ Tollygunge ตามลำดับ ส่วนศูนย์ซ่อมบำรุงที่เก่าที่สุดคือศูนย์ Khidirpur และศูนย์ที่เล็กที่สุดคือศูนย์ Kalighat สถานีปลายทางที่รองรับจำนวนเส้นทางมากที่สุดคือสถานีเอสพลานาด

เส้นทาง[แก้]

See caption
แผนที่เส้นทางรถรางในโกลกาตา
สาย สถานีปลายทาง ระยะทาง (กม.)
1 BelgachiaEsplanade 7.29[1]
2 BelgachiaBBD Bag 6.81[1]
4 BelgachiaBBD Bag 6.92[1]
5 ShyambazarEsplanade 5.43[1]
6 ShyambazarBBD Bag 5.13[1]
8 Bagbazar – BBD Bag 5.13[1]
10 ShyambazarBBD Bag 5.13[1]
11 Belgachhia – Howrah Bridge 6.00[1]
12/1 BelghachiaEsplanade -[1]
12/7 EsplanadeGaliff Street 6.92[1]
14 Rajabazar – BBD Bag 4.81[1]
15/12 Rajabazar – Howrah Bridge -[1]
16 Bidhan Nagar – BBD Bag 8.14[1]
17 Bidhan Nagar – Esplanade 7.95[1]
18 Bidhan Nagar – Howrah Bridge -[1]
20 Park Circus – Howrah Bridge 6.85[1]
20/17 Park Circus – Bidhan Nagar 9.25[1]
21 Park Circus – Howrah Bridge 7.75[1]
22 Park CircusEsplanade 5.65[1]
24 BallygungeEsplanade 4.99[1][7][8]
24/29 TollygungeBallygunge -[1]
25 GariahatEsplanade 8.65[1]
26 Gariahat – Howrah Bridge 9.68[1]
26/17 Gariahat – Bidhan Nagar -[1]
29 TollygungeEsplanade 4.99[1][7][8]
29/36 TollygungeKhidderpore
36 Khidderpore – Esplanade 4.99[1]
36/8 Khidderpore – Esplanade & Bagbazar -[1]

โครงการในอนาคต[แก้]

มีโครงการปรับปรุงระบบรถไฟฟ้าและสายลวด และจะมีการขยายเส้นทางไปยังซอลต์เลก, ราชฮัต, บันตาลา[9] และพื้นที่ริมน้ำฮูกลี[10][11] และยังมีโครงการอุโมงค์ลอดใต้แม่น้ำฮูกลีอีกด้วย[12]

นอกจากนี้ยังมีแผนปลดระวางรถรางคันเก่า และนำรถรางคันใหม่เข้ามาใช้งานแทน โดยแผนนี้มีการอภิปรายจากการวิจารณ์ว่ารถรางกินพื้นที่บนถนนมากเกินไป ทำให้พาหนะบนท้องถนนเคลื่อนตัวได้ช้าลง และรถรางคันเก่าจุผู้โดยสารได้น้อย[13] อย่างไรก็ตาม รถรางยังคงถูกมองว่ามีเอกลักษณ์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม[14]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 1.18 1.19 1.20 1.21 1.22 1.23 1.24 1.25 1.26 1.27 Tram Routes
  2. 2.0 2.1 [1] เก็บถาวร 2013-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน CTC website. Accessed 16 August 2013.
  3. 3.0 3.1 "Bankrupt CTC to introduce two more AC trams". The Times of India. 14 August 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-16. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  4. http://calcuttatramways.com/about-ctc/
  5. "Reaching India". New Delhi: Times Internet Limited. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-09. สืบค้นเมื่อ 27 February 2012.
  6. "Kolkata trams to get a GenX makeover". 13 July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-27. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  7. 7.0 7.1 "Tram route gets new life on Panchami". 10 October 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  8. 8.0 8.1 "Tram route back on track after 7 years". 18 October 2013.
  9. "Kolkata to get banquet and cafeteria trams". Daily News. 12 February 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  10. "New tram route on anvil to soak in riverfront views". The Times of India. 8 July 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-22. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  11. "City tram network set for expansion". The Statesman. 12 September 2013.
  12. "Subhas dreams of tram below Hooghly". The Times of India. 21 May 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-22. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  13. "State govt mulls phasing out trams from Kolkata streets". 27 Sep 2016.
  14. "Kolkata trams not to be scrapped". 22 May 2017.
  • Niyogi, S. Shake, rattle & roll. The Sunday Story, Sunday Times of India, Kolkata, 25 June 2006. Available on Times of India e-paper (paid subscription required as of 2010).
  • Pathak Pratap Shankar, The Sunday Story, Sunday Times of India, Kolkata

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]