ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสรี รุ่งสว่าง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เสรี รุ่งสว่าง จบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แล้วประกอบอาชีพกรรมกรก่อสร้าง รับจ้างทั่วไป <ref name="countryman"/> และได้รับการชักชวนจากครู[[สัมฤทธิ์ รุ่งโรจน์]] และ[[เอื้อ อารี]] ให้มาเป็นนักร้อง โดยเริ่มมีชื่อเสียงจากเพลง “จดหมายจากแม่” แต่งโดยชลธี ธารทอง จากการผลักดันของ[[ประจวบ จำปาทอง]]
เสรี รุ่งสว่าง เกิดเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 คุณพ่อชื่อนายยุ้ย และคุณแม่ชื่อนางชั้น จบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แล้วประกอบอาชีพกรรมกรก่อสร้าง รับจ้างทั่วไป <ref name="countryman"/> และได้รับการชักชวนจากครู[[สัมฤทธิ์ รุ่งโรจน์]] และ[[เอื้อ อารี]] ให้มาเป็นนักร้อง โดยเริ่มมีชื่อเสียงจากเพลง “จดหมายจากแม่” แต่งโดยชลธี ธารทอง จากการผลักดันของ[[ประจวบ จำปาทอง]]


เสรี รุ่งสว่าง เป็นเพื่อนสนิทกับ[[ยอดรัก สลักใจ]] <ref>[http://news.sanook.com/entertain/entertain_245323.php 'ยอดรัก'ปลงชะตา อีก6เดือนตาย] สำเนาจาก ไทยรัฐ 7 กุมภาพันธ์ 2551</ref> เป็นผู้ออกมาปกป้อง จนทำให้มีเรื่องวิวาทกับ[[สายัณห์ สัญญา]] กรณีกล่าวหาว่ายอดรัก สลักใจไม่ได้ป่วยเป็น[[โรคมะเร็ง]] ภายหลังเมื่อยอดรัก สลักใจเสียชีวิต ก็ได้อุปสมบทเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ <ref>[http://news.mediathai.net/detail_news.php?newsid=35963 "เสรี รุ่งสว่าง"บวชอุทิศส่วนกุศลให้"ยอดรัก สลักใจ"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190512120449/http://news.mediathai.net/detail_news.php?newsid=35963 |date=2019-05-12 }} สำเนาจาก คมชัดลึก 4 กันยายน 2552</ref>
เสรี รุ่งสว่าง เป็นเพื่อนสนิทกับ[[ยอดรัก สลักใจ]] <ref>[http://news.sanook.com/entertain/entertain_245323.php 'ยอดรัก'ปลงชะตา อีก6เดือนตาย] สำเนาจาก ไทยรัฐ 7 กุมภาพันธ์ 2551</ref> เป็นผู้ออกมาปกป้อง จนทำให้มีเรื่องวิวาทกับ[[สายัณห์ สัญญา]] กรณีกล่าวหาว่ายอดรัก สลักใจไม่ได้ป่วยเป็น[[โรคมะเร็ง]] ภายหลังเมื่อยอดรัก สลักใจเสียชีวิต ก็ได้อุปสมบทเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ <ref>[http://news.mediathai.net/detail_news.php?newsid=35963 "เสรี รุ่งสว่าง"บวชอุทิศส่วนกุศลให้"ยอดรัก สลักใจ"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190512120449/http://news.mediathai.net/detail_news.php?newsid=35963 |date=2019-05-12 }} สำเนาจาก คมชัดลึก 4 กันยายน 2552</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:31, 14 ตุลาคม 2564

เสรี รุ่งสว่าง
ชื่อเกิดบุญลือ รุ่งสว่าง
เกิด3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 (69 ปี) [1]
ที่เกิดตำบลบ้านแหลม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
แนวเพลงลูกทุ่ง
อาชีพนักร้อง
ช่วงปีพ.ศ. 2527 - ปัจจุบัน
คู่สมรสนัยนา รุ่งสว่าง

เสรี รุ่งสว่าง (ชื่อจริง : บุญลือ) เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งจากอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี มีชื่อเสียงจากเพลง "จดหมายจากแม่", "เทพธิดาผ้าซิ่น", "ไอ้หนุ่มรถซุง" และ "เรียกพี่ได้ไหม" ที่แต่งโดย ชลธี ธารทอง [2] เคยได้รับรางวัลจากงานกึ่งศตวรรษลูกทุ่งไทยเพลง "ไม้เรียว" และ "เทพธิดาผ้าซิ่น" ผลงานของครูชลธี ธารทอง

ประวัติ

เสรี รุ่งสว่าง เกิดเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 คุณพ่อชื่อนายยุ้ย และคุณแม่ชื่อนางชั้น จบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แล้วประกอบอาชีพกรรมกรก่อสร้าง รับจ้างทั่วไป [2] และได้รับการชักชวนจากครูสัมฤทธิ์ รุ่งโรจน์ และเอื้อ อารี ให้มาเป็นนักร้อง โดยเริ่มมีชื่อเสียงจากเพลง “จดหมายจากแม่” แต่งโดยชลธี ธารทอง จากการผลักดันของประจวบ จำปาทอง

เสรี รุ่งสว่าง เป็นเพื่อนสนิทกับยอดรัก สลักใจ [3] เป็นผู้ออกมาปกป้อง จนทำให้มีเรื่องวิวาทกับสายัณห์ สัญญา กรณีกล่าวหาว่ายอดรัก สลักใจไม่ได้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง ภายหลังเมื่อยอดรัก สลักใจเสียชีวิต ก็ได้อุปสมบทเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ [4]

เขาลงสมัครรับเลือกตั้งในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 สังกัดพรรคเพื่อชาติ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง[5]

ชีวิตส่วนตัว แต่งงานกับนางนัยนา มีบุตรด้วยกัน 3คน

ผลงานการแสดงภาพยนตร์ และ ละครโทรทัศน์

  • ดับเจ้าพ่อ (2527)
  • สวรรค์บ้านทุ่ง (2541) ช่อง 9
  • มนต์เพลงลูกทุ่ง เอฟ.เอ็ม. (2545)

อ้างอิง

  1. วันเกิดของ เสรี รุ่งสว่าง
  2. 2.0 2.1 เพลงของ เสรี รุ่งสว่าง
  3. 'ยอดรัก'ปลงชะตา อีก6เดือนตาย สำเนาจาก ไทยรัฐ 7 กุมภาพันธ์ 2551
  4. "เสรี รุ่งสว่าง"บวชอุทิศส่วนกุศลให้"ยอดรัก สลักใจ" เก็บถาวร 2019-05-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สำเนาจาก คมชัดลึก 4 กันยายน 2552
  5. พลวุฒิ สงสกุล (19 กันยายน 2561). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)