ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูม่านตาขยาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| Caption = Pupil dilated for examination by optometrist.
| Caption = Pupil dilated for examination by optometrist.
}}
}}
'''รูม่านตาขยาย'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref> หรือ '''ม่านตาขยาย'''<ref>{{ICD-10-TM 2009}}</ref> ({{lang-en|mydriasis}}) คือภาวะซึ่งมี[[Pupillary response|การขยายของรูม่านตา]] ส่วนใหญ่นิยามนี้เมื่อเป็นการขยายของรูม่านตาที่ไม่ใช่ภาวะปกติ (non-physiologic)<ref>[http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/mydriasis Mydriasis] in Farlex medical dictionary. In turn citing:
'''รูม่านตาขยาย'''<ref>{{Cite web |url=http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |title=ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน |access-date=2012-05-13 |archive-date=2017-07-15 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |url-status=dead }}</ref> หรือ '''ม่านตาขยาย'''<ref>{{ICD-10-TM 2009}}</ref> ({{lang-en|mydriasis}}) คือภาวะซึ่งมี[[Pupillary response|การขยายของรูม่านตา]] ส่วนใหญ่นิยามนี้เมื่อเป็นการขยายของรูม่านตาที่ไม่ใช่ภาวะปกติ (non-physiologic)<ref>[http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/mydriasis Mydriasis] in Farlex medical dictionary. In turn citing:
*The American Heritage® Medical Dictionary. Copyright 2007
*The American Heritage® Medical Dictionary. Copyright 2007
*Mosby's Dental Dictionary, 2nd edition.</ref> แต่บางครั้งก็นิยามรวมถึงภาวะซึ่งอาจจะเป็นการตอบสนองปกติของรูม่านตาก็ได้<ref>[http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/mydriasis Mydriasis] in Farlex medical dictionary. In turn citing: Mosby's Medical Dictionary, 8th edition.</ref> สาเหตุซึ่งไม่ใช่สาเหตุทางสรีรวิทยา (ปกติ) ของการมีม่านตาขยายอาจมาจากโรค การบาดเจ็บ หรือยาบางอย่าง ปกติแล้วรูม่านตาจะขยายเมื่ออยู่ในที่มืด และหดตัวเมื่ออยู่ในที่สว่าง เพื่อปรับแสงที่เข้าสู่[[ตา]]ให้เหมาะสมกับ[[การมองเห็น]] และไม่เป็นอันตรายต่อ[[จอตา]]
*Mosby's Dental Dictionary, 2nd edition.</ref> แต่บางครั้งก็นิยามรวมถึงภาวะซึ่งอาจจะเป็นการตอบสนองปกติของรูม่านตาก็ได้<ref>[http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/mydriasis Mydriasis] in Farlex medical dictionary. In turn citing: Mosby's Medical Dictionary, 8th edition.</ref> สาเหตุซึ่งไม่ใช่สาเหตุทางสรีรวิทยา (ปกติ) ของการมีม่านตาขยายอาจมาจากโรค การบาดเจ็บ หรือยาบางอย่าง ปกติแล้วรูม่านตาจะขยายเมื่ออยู่ในที่มืด และหดตัวเมื่ออยู่ในที่สว่าง เพื่อปรับแสงที่เข้าสู่[[ตา]]ให้เหมาะสมกับ[[การมองเห็น]] และไม่เป็นอันตรายต่อ[[จอตา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:48, 28 สิงหาคม 2564

ม่านตาขยาย
(Mydriasis)
Pupil dilated for examination by optometrist.
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10H57.0
ICD-9379.43
OMIM159420 159410 106240
DiseasesDB8603

รูม่านตาขยาย[1] หรือ ม่านตาขยาย[2] (อังกฤษ: mydriasis) คือภาวะซึ่งมีการขยายของรูม่านตา ส่วนใหญ่นิยามนี้เมื่อเป็นการขยายของรูม่านตาที่ไม่ใช่ภาวะปกติ (non-physiologic)[3] แต่บางครั้งก็นิยามรวมถึงภาวะซึ่งอาจจะเป็นการตอบสนองปกติของรูม่านตาก็ได้[4] สาเหตุซึ่งไม่ใช่สาเหตุทางสรีรวิทยา (ปกติ) ของการมีม่านตาขยายอาจมาจากโรค การบาดเจ็บ หรือยาบางอย่าง ปกติแล้วรูม่านตาจะขยายเมื่ออยู่ในที่มืด และหดตัวเมื่ออยู่ในที่สว่าง เพื่อปรับแสงที่เข้าสู่ตาให้เหมาะสมกับการมองเห็น และไม่เป็นอันตรายต่อจอตา

ในภาวะม่านตาขยายนี้ รูม่านตาจะขยาย แต่ม่านตาจะหด

อ้างอิง

  1. "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2012-05-13.
  2. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) ฉบับปี 2009. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2552.
  3. Mydriasis in Farlex medical dictionary. In turn citing:
    • The American Heritage® Medical Dictionary. Copyright 2007
    • Mosby's Dental Dictionary, 2nd edition.
  4. Mydriasis in Farlex medical dictionary. In turn citing: Mosby's Medical Dictionary, 8th edition.