ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์"

พิกัด: 18°47′24.87″N 98°59′14.40″E / 18.7902417°N 98.9873333°E / 18.7902417; 98.9873333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox monument
{{Infobox monument
| image = 3 kings monument.JPG
| image = 3 kings monument.JPG
บรรทัด 22: บรรทัด 21:
}}
}}


'''อนุสาวรีย์สามกษัตริย์'''<ref>{{Cite web|last=มหาวิทยาลัยเชียงใหม่|first=ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม|date=2020-12-28|title=ที่มาของ "อนุสาวรีย์สามกษัตริย์" และ "ตำนานพญามังราย"|url=https://www.matichonweekly.com/column/article_305326|website=มติชนสุดสัปดาห์|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|title=อนุสาวรีย์สามกษัตริย์|url=http://www.chiangmaipao.go.th/tourism/place_detail.php?id=36&area=21|website=www.chiangmaipao.go.th}}</ref><ref>{{Cite web|title=อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ : Three Kings Monument Chiang Mai เมืองเชียงใหม่, เชียงใหม่|url=https://www.chillpainai.com/travel/464/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C/|website=www.chillpainai.com}}</ref> เป็น[[อนุสรณ์สถาน|พระบรมราชานุสาวรีย์]]ของพระมหากษัตริย์ 3 พระองค์ผู้สร้าง[[เวียงเชียงใหม่]] คือ [[พญามังราย]] [[พญางำเมือง]] และ[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]]
'''พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์'''<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์| ชื่อหนังสือ = อนุสาวรีย์ในประเทศไทยเล่ม 2| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร| ปี = 2542| จำนวนหน้า = 559| หน้า = 394-399| ISBN = 974-9527-55-0}}</ref> หรือ '''อนุสาวรีย์สามกษัตริย์'''<ref>{{Cite web|last=มหาวิทยาลัยเชียงใหม่|first=ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม|date=2020-12-28|title=ที่มาของ "อนุสาวรีย์สามกษัตริย์" และ "ตำนานพญามังราย"|url=https://www.matichonweekly.com/column/article_305326|website=มติชนสุดสัปดาห์|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|title=อนุสาวรีย์สามกษัตริย์|url=http://www.chiangmaipao.go.th/tourism/place_detail.php?id=36&area=21|website=www.chiangmaipao.go.th}}</ref><ref>{{Cite web|title=อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ : Three Kings Monument Chiang Mai เมืองเชียงใหม่, เชียงใหม่|url=https://www.chillpainai.com/travel/464/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C/|website=www.chillpainai.com}}</ref> เป็น[[อนุสรณ์สถาน|พระบรมราชานุสาวรีย์]]ของพระมหากษัตริย์ 3 พระองค์ผู้สร้าง[[เวียงเชียงใหม่]] คือ [[พญามังราย]] [[พญางำเมือง]] และ[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]]


อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ตั้งอยู่กลาง[[เวียงเชียงใหม่]] บริเวณหน้าหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ (อดีตศาลารัฐบาลมณฑลพายัพ) ด้านหน้าติดกับถนนพระปกเกล้า ซึ่งบริเวณนี้เอง ถือเป็นศูนย์กลางของตัวเมืองเชียงใหม่ หน้าอนุสาวรีย์มีลานกว้างขนาดใหญ่ เรียกว่า ข่วงสามกษัตริย์ หรือข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ด้านตรงข้ามของอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ยังเป็นที่ตั้งของอาคารศาลแขวงเชียงใหม่เดิมซึ่งมีสถาปัตยกรรมตะวันตกที่สวยและงดงาม
อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ตั้งอยู่กลาง[[เวียงเชียงใหม่]] บริเวณหน้าหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ (อดีตศาลารัฐบาลมณฑลพายัพ) ด้านหน้าติดกับถนนพระปกเกล้า ซึ่งบริเวณนี้เอง ถือเป็นศูนย์กลางของตัวเมืองเชียงใหม่ หน้าอนุสาวรีย์มีลานกว้างขนาดใหญ่ เรียกว่า ข่วงสามกษัตริย์ หรือข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ด้านตรงข้ามของอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ยังเป็นที่ตั้งของอาคารศาลแขวงเชียงใหม่เดิมซึ่งมีสถาปัตยกรรมตะวันตกที่สวยและงดงาม


== รายละเอียด ==
== รายละเอียด ==
[[ไฟล์:จารึกฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์.jpg|thumb|left|จารึกฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์]]
พระบรมรูปหล่อด้วยทองเหลืองและทองแดงรมดำ มีขนาดเท่าครึ่ง สูง 2.70 เมตร ใช้เวลา 10 เดือน [[ไข่มุกด์ ชูโต]] เป็นผู้ออกแบบและปั้นหล่อ มีการประกอบพิธีอัญเชิญพระบรมรูปจากกรุงเทพมหานครขึ้นประดิษฐานบนแท่นพระบรมราชานุสาวรีย์ในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2526 เวลา 11.49 น. พระบรมรูปประกอบด้วย พญามังรายประทับกลางเป็นประธาน พญาร่วงประทับอยู่เบื้องซ้าย และพญางำเมืองประทับอยู่เบื้องขวา
พระบรมรูปหล่อด้วยทองเหลืองและทองแดงรมดำ มีขนาดเท่าครึ่ง สูง 2.70 เมตร ใช้เวลา 10 เดือน [[ไข่มุกด์ ชูโต]] เป็นผู้ออกแบบและปั้นหล่อ มีการประกอบพิธีอัญเชิญพระบรมรูปจากกรุงเทพมหานครขึ้นประดิษฐานบนแท่นพระบรมราชานุสาวรีย์ในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2526 เวลา 11.49 น. พระบรมรูปประกอบด้วย พญามังรายประทับกลางเป็นประธาน พญาร่วงประทับอยู่เบื้องซ้าย และพญางำเมืองประทับอยู่เบื้องขวา


[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินมาประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2527
[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] พร้อมด้วย[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] และ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จฯ มาประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2527


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{Coord|18|47|24.87|N|98|59|14.40|E|display=title}}
{{Coord|18|47|24.87|N|98|59|14.40|E|display=title}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Three Kings Monument, Chiang Mai}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Three Kings Monument, Chiang Mai}}

{{เรียงลำดับ|สามกษัตริย์}}
{{เรียงลำดับ|สามกษัตริย์}}
{{สร้างปี|2527}}
{{สร้างปี|2527}}
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
[[หมวดหมู่:พญามังราย]]
[[หมวดหมู่:พญามังราย]]
[[หมวดหมู่:พญางำเมือง]]
[[หมวดหมู่:พญางำเมือง]]
{{โครงสถานที่}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:20, 24 กรกฎาคม 2564

พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์
อนุสาวรีย์สามกษัตริย์หน้าอดีตศาลารัฐบาลมณฑลพายัพ
แผนที่
พิกัด18°47′25″N 98°59′14″E / 18.7902047°N 98.987280°E / 18.7902047; 98.987280
ที่ตั้งบริเวณหน้าหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ (อดีตศาลารัฐบาลมณฑลพายัพ) ถนนพระปกเกล้า อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ออกแบบไข่มุกต์ ชูโต
ประเภทพระบรมราชานุสาวรีย์
วัสดุทองเหลืองและทองแดงรมดำ
ความสูง2.70 เมตร
สร้างเสร็จพ.ศ. 2526 (10เดือน)
การเปิดพ.ศ. 2527
อุทิศแด่

พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์[1] หรือ อนุสาวรีย์สามกษัตริย์[2][3][4] เป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ 3 พระองค์ผู้สร้างเวียงเชียงใหม่ คือ พญามังราย พญางำเมือง และพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ตั้งอยู่กลางเวียงเชียงใหม่ บริเวณหน้าหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ (อดีตศาลารัฐบาลมณฑลพายัพ) ด้านหน้าติดกับถนนพระปกเกล้า ซึ่งบริเวณนี้เอง ถือเป็นศูนย์กลางของตัวเมืองเชียงใหม่ หน้าอนุสาวรีย์มีลานกว้างขนาดใหญ่ เรียกว่า ข่วงสามกษัตริย์ หรือข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ด้านตรงข้ามของอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ยังเป็นที่ตั้งของอาคารศาลแขวงเชียงใหม่เดิมซึ่งมีสถาปัตยกรรมตะวันตกที่สวยและงดงาม

รายละเอียด

จารึกฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์

พระบรมรูปหล่อด้วยทองเหลืองและทองแดงรมดำ มีขนาดเท่าครึ่ง สูง 2.70 เมตร ใช้เวลา 10 เดือน ไข่มุกด์ ชูโต เป็นผู้ออกแบบและปั้นหล่อ มีการประกอบพิธีอัญเชิญพระบรมรูปจากกรุงเทพมหานครขึ้นประดิษฐานบนแท่นพระบรมราชานุสาวรีย์ในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2526 เวลา 11.49 น. พระบรมรูปประกอบด้วย พญามังรายประทับกลางเป็นประธาน พญาร่วงประทับอยู่เบื้องซ้าย และพญางำเมืองประทับอยู่เบื้องขวา

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ มาประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2527

อ้างอิง

  1. กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. อนุสาวรีย์ในประเทศไทยเล่ม 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2542. 559 หน้า. หน้า 394-399. ISBN 974-9527-55-0
  2. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม (2020-12-28). "ที่มาของ "อนุสาวรีย์สามกษัตริย์" และ "ตำนานพญามังราย"". มติชนสุดสัปดาห์.
  3. "อนุสาวรีย์สามกษัตริย์". www.chiangmaipao.go.th.
  4. "อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ : Three Kings Monument Chiang Mai เมืองเชียงใหม่, เชียงใหม่". www.chillpainai.com.

18°47′24.87″N 98°59′14.40″E / 18.7902417°N 98.9873333°E / 18.7902417; 98.9873333