ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำไส้เล็ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8993595 สร้างโดย 1.2.254.95 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
น่ารัก
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| System =
| System =
| Artery =
| Artery =
| Vein = มีคนนะร่ะอยู่แถวนี้มั้ยค๊าาา
| Vein =
| Nerve = [[ปมประสาทท้อง]], [[เส้นประสาทเวกัส]] <ref>{{GeorgiaPhysiology|6/6ch2/s6ch2_30}}</ref>
| Nerve = [[ปมประสาทท้อง]], [[เส้นประสาทเวกัส]] <ref>{{GeorgiaPhysiology|6/6ch2/s6ch2_30}}</ref>
| Lymph =
| Lymph =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:48, 7 สิงหาคม 2563

ลำไส้เล็ก
ลำไส้เล็ก
รายละเอียด
หลอดเลือดดำมีคนนะร่ะอยู่แถวนี้มั้ยค๊าาา
ประสาทปมประสาทท้อง, เส้นประสาทเวกัส [1]
ตัวระบุ
ภาษาละตินintestinum tenue
MeSHD007421
TA98A05.6.01.001
TA22933
FMA7200
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

ลำไส้เล็ก เป็นอวัยวะซึ่งมีหน้าที่ย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยวิลไล (มีหน้าที่เพิ่มพื้นที่ในการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก) เอนไซม์ย่อยในลำไส้เล็กนั้นมาจากลำไส้เล็กหลั่งเองส่วนหนึ่งและตับอ่อนหลั่งส่วนหนึ่ง อาหารที่ย่อยแล้วบางส่วนและที่ยังไม่ถูกย่อยจะเคลื่อนที่ผ่านกล้ามเนื้อหูรูดระหว่างกระเพาะอาหารกับลำไส้เล็ก

โครงสร้าง

ความยาวเฉลี่ยของลำไส้เล็กในผู้ชายอยู่ที่ 6.9 m (22 ft 8 in) และ 7.1 m (23 ft 4 in) ในผู้หญิง[2][3]

ลำไส้เล็กสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน ส่วนแรกคือ ลำไส้เล็กส่วนต้น เป็นส่วนที่สั้นที่สั้นสุด ยาวประมาณ 20–25 เซนติเมตร มีรูปร่างคล้ายตัว C ต่อมาจากกระเพาะอาหาร[4] โดยลำไส้เล็กส่วนต้นเป็นส่วนที่มีรูเปิดร่วมจากตับอ่อนและตับ, มีต่อมสร้างน้ำย่อย, ต่อมสร้างเมือก และมีการย่อยอาหารมากที่สุด ส่วนลำไส้อีกสองส่วนที่เหลือคือ ลำไส้เล็กส่วนกลางและลำไส้เล็กส่วนปลาย

อ้างอิง

  1. สื่อด้านสรีรวิทยาของวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งจอร์เจีย (MCG) 6/6ch2/s6ch2_30(อังกฤษ)
  2. "Elsevier: Gray's Anatomy, 40th Edition". 1928.
  3. "Lea Brothers and Co. 1907: Surgical Applied Anatomy".
  4. Drake, Richard L.; Vogl, Wayne; Tibbitts, Adam W.M. Mitchell; illustrations by Richard; Richardson, Paul (2005). Gray's anatomy for students. Philadelphia: Elsevier/Churchill Livingstone. p. 273. ISBN 978-0-8089-2306-0.