ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วนและข้อมูล "ประวัติ"
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: เพิ่มข้อมูล "ประวัติ"
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
[[ไฟล์:Main Building of Meiji Palace.JPG|thumb|left|upright|ท้องพระโรงนี้ใน[[ยุคเมจิ]]นั้นถูกใช้โดย[[จักรพรรดิโชวะ]] ซึ่งท้องพระโรงดังกล่าวนั้น ได้ถูกทำลายไปในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2]]
[[ไฟล์:Main Building of Meiji Palace.JPG|thumb|left|upright|ท้องพระโรงนี้ใน[[ยุคเมจิ]]นั้นถูกใช้โดย[[จักรพรรดิโชวะ]] ซึ่งท้องพระโรงดังกล่าวนั้น ได้ถูกทำลายไปในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2]]


[[ประเทศญี่ปุ่น]]นั้นเป็นประเทศที่มีการสืบเชื้อสายราชวงศ์มายาวนานที่สุดในโลก<ref>McNeill, David. [https://www.independent.co.uk/news/world/asia/the-girl-who-may-sit-on-chrysanthemum-throne-484385.html "The Girl who May Sit on Chrysanthemum Throne,"] ''The Independent'' (London). 23 กุมภาพันธ์ 2005</ref> ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับ[[ราชวงศ์อังกฤษ]] ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศนั้นเกิดขึ้นจากแนวคิดนามนัย ที่แสดงถึงพระจักรพรรดิและอำนาจทางกฎหมายในการดำรงอยู่ของรัฐบาล ซึ่งแตกต่างจากอังกฤษ แนวคิดของสถาบันพระมหากษัตริย์ในญี่ปุ่นนั้นพัฒนามา โดยแตกต่างจากแนวคิดเดิมในช่วงก่อนปี ค.ศ. 1947 ตัวอย่างเช่น การไม่ให้มีการรับรู้ถึงการแยกทรัพย์สินของรัฐชาติออกจากตัวบุคคล และการครอบครองทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระจักรพรรดิ
[[ประเทศญี่ปุ่น]]นั้นเป็นประเทศที่มีการสืบทอดสันตติวงศ์มายาวนานที่สุดในโลก<ref>McNeill, David. [https://www.independent.co.uk/news/world/asia/the-girl-who-may-sit-on-chrysanthemum-throne-484385.html "The Girl who May Sit on Chrysanthemum Throne,"] ''The Independent'' (London). 23 กุมภาพันธ์ 2005</ref> ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับ[[ราชวงศ์อังกฤษ]] ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศนั้นเกิดขึ้นจากแนวคิดนามนัย ที่แสดงถึงพระจักรพรรดิและอำนาจทางกฎหมายในการดำรงอยู่ของรัฐบาล ซึ่งแตกต่างจากอังกฤษ แนวคิดของสถาบันพระมหากษัตริย์ในญี่ปุ่นนั้นพัฒนามา โดยแตกต่างจากแนวคิดเดิมในช่วงก่อนปี ค.ศ. 1947 ตัวอย่างเช่น การไม่ให้มีการรับรู้ถึงการแยกทรัพย์สินของรัฐชาติออกจากตัวบุคคล และการครอบครองทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระจักรพรรดิ

ตามตำนานกล่าวว่า ราชวงศ์ญี่ปุ่นนั้นได้สถาปนาขึ้นในช่วง 660 ปีก่อนคริสตกาล โดย[[จักรพรรดิจิมมุ]] และในปัจจุบันนั้น [[สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ]] ได้ขึ้นครองราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 126 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:02, 5 มิถุนายน 2563

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศหรือ ทากามิกูระ ในท้องพระโรง ชิชินเด็น ที่พระราชวังหลวงโตเกียว ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะในปี พ.ศ. 2562​

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Chrysanthemum Throne , ญี่ปุ่น: Takamikuraโรมาจิทากามิกูระ) ราชบัลลังก์ที่ใช้ประกอบ พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ท้องพระโรง ชิชินเด็น ในพระราชวังหลวงเคียวโตะ โดยจักรพรรดิพระองค์ล่าสุดที่ได้ประทับบนราชบัลลังก์นี้คือสมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ ในคราวพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2019

ประวัติ

ท้องพระโรงนี้ในยุคเมจินั้นถูกใช้โดยจักรพรรดิโชวะ ซึ่งท้องพระโรงดังกล่าวนั้น ได้ถูกทำลายไปในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

ประเทศญี่ปุ่นนั้นเป็นประเทศที่มีการสืบทอดสันตติวงศ์มายาวนานที่สุดในโลก[1] ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับราชวงศ์อังกฤษ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศนั้นเกิดขึ้นจากแนวคิดนามนัย ที่แสดงถึงพระจักรพรรดิและอำนาจทางกฎหมายในการดำรงอยู่ของรัฐบาล ซึ่งแตกต่างจากอังกฤษ แนวคิดของสถาบันพระมหากษัตริย์ในญี่ปุ่นนั้นพัฒนามา โดยแตกต่างจากแนวคิดเดิมในช่วงก่อนปี ค.ศ. 1947 ตัวอย่างเช่น การไม่ให้มีการรับรู้ถึงการแยกทรัพย์สินของรัฐชาติออกจากตัวบุคคล และการครอบครองทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระจักรพรรดิ

ตามตำนานกล่าวว่า ราชวงศ์ญี่ปุ่นนั้นได้สถาปนาขึ้นในช่วง 660 ปีก่อนคริสตกาล โดยจักรพรรดิจิมมุ และในปัจจุบันนั้น สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ ได้ขึ้นครองราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 126 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น

ดูเพิ่ม

  1. McNeill, David. "The Girl who May Sit on Chrysanthemum Throne," The Independent (London). 23 กุมภาพันธ์ 2005