ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sawasdeeee (คุย | ส่วนร่วม)
Sawasdeeee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{| style="float: right;"
{{ต้องการอ้างอิง}}
|-
'''ทางรถไฟสายจีน-ลาว''' มีความยาวประมาณ 53000 กิโลเมตร เริ่มต้นจากด่าน[[บ่อหาน]] [[เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา]] เข้าสู่ประเทศลาวที่[[บ่อเต็น]] ผ่านเมือง[[หลวงพระบาง]]และสิ้นสุดที่[[เวียงจันทน์]] เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2553 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2558
|
{{Infobox rail line
| name = ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็น<br />Vientiane–Boten railway
| image = [[ไฟล์:中国ラオス鉄道.jpg|300px]]
| imagesize = 300
| caption =
| locale = [[ประเทศลาว]]
| terminus =
| map =
| mapcaption =
| type =
| system =
| yearcommenced = ธันวาคม 2559<ref name="chinadaily201708">{{cite web|url=http://www.chinadaily.com.cn/business/2017-08/07/content_30359991.htm|title=Laos-China railway brings changes to Laos|date=7 August 2017|publisher=China Daily}}</ref>
| planopen = ธันวาคม 2564<ref>https://www.thestar.com.my/news/regional/2020/01/20/chinas-rail-network-opens-up-transport-links-in-laos</ref>
| status = กำลังก่อสร้าง
| start =
| end =
| stations =
| routes =
| ridership =
| open =
| close =
| owner =
| operator =
| gauge = {{RailGauge|1435mm|allk=on}}
| tracks = 1
| electrification = Overhead line
| linelength_km = 414<ref>{{cite web|url=http://en.people.cn/n3/2017/1120/c90000-9294807.html|title=China-Laos railway project set to be complete by late 2021|date=20 November 2017|publisher=[[People's Daily]]}}</ref>
| speed = 160 km/h (ผู้โดยสาร) <br>120 km/h (ขนส่งสินค้า)<ref name="chinadaily201708"/>
}}
{{Routemap
|title=ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็น|navbar=ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็น
|map=
exCONTg~~''[[ทางรถไฟสายอฺวี้ซี-บ่อหาน]]''
exBHF~~Boten
exHST~~Na Thong
exHST~~Hua Nam
exBHF~~Muang Xay
exHST~~Na Khok Tay
exHST~~Huoi Phou Lai
exBHF~~Luang Prabang
exHST~~Muong Xiengngeun
exHST~~Ban Sen
exHST~~Kasi
exHST~~Bua Pheouk
exHST~~Pha Tang
exBHF~~Vang Vieng
exHST~~Vang Mon
exHST~~Vang Khi
exHST~~Hin Hoeup
exHST~~Phonhong
exHST~~Sakha
exHST~~Phonsoung
exBHF~~Vientiane New
exKBHFe~~Vientiane South
lGRZq~~
KBHFa~~[[สถานีรถไฟท่านาแล้ง|ท่านาแล้ง]]
CONTf~~''[[รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (สายอีสาน)]]''
|collapse=yes
}}


'''ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็น''' หรือ '''ทางรถไฟสายจีน-ลาว''' เป็นทางรถไฟกำลังก่อสร้างขนาดราง[[สแตนดาร์ดเกจ]] 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) มีความยาว 414 กิโลเมตร เชื่อมต่อระหว่างด่าน[[บ่อหาน]] [[เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา]] [[ประเทศจีน]] กับประเทศลาวที่[[บ่อเต็น]] ผ่านเมือง[[หลวงพระบาง]]และสิ้นสุดที่[[เวียงจันทน์]] โดยปลายทางทิศเหนือเชื่อมต่อกับ[[ทางรถไฟสายอฺวี้ซี-บ่อหาน]] ส่วนปลายทางทิศใต้เชื่อมกับ[[ทางรถไฟสายหนองคาย–ท่านาแล้ง|ทางรถไฟสายหนองคาย-ท่านาแล้ง]] โดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[ทางรถไฟสายคุณหมิง-สิงคโปร์]] เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2559 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2564
[[หมวดหมู่:ทางรถไฟ]]

การกล่าวถึงทางรถไฟเชื่อมระหว่างประเทศลาวและจีนเกิดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2544 โดยนักการเมืองลาวและจีนร่วมกันยืนยันแผนการสร้างในปี พ.ศ. 2552 แต่มีเหตุการณ์ทุจริตของกระทรวงการรถไฟของประเทศจีนเกิดขึ้น การเริ่มสร้างทางรถไฟสายนี้จึงเลื่อนออกไปจนถึงปี พ.ศ. 2559<ref name="nikkei.com">{{cite web|url=https://asia.nikkei.com/Politics-Economy/International-Relations/Land-locked-Laos-on-track-for-controversial-China-rail-link|title=Land-locked Laos on track for controversial China rail link|date=24 July 2017}}</ref>

ด้วยภูมิประเทศที่เป็นเทือกเขา ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็นมีความยาวเป็นอุโมงค์ร้อยละ 47 และเป็นสะพานรถไฟร้อยละ 15 โดยคิดเป็นจำนวน 75 อุโมงค์และ 167 สะพาน<ref name="nikkei.com"/> พรมแดนเชื่อมต่อกับประเทศจีนผ่านทางอุโมงค์ความยาว 9,680 เมตร อยู่ในประเทศลาว 7,170 เมตร และอยู่ในประเทศจีน 2,510 เมตร ทางรถไฟสายนี้มีสถานีทั้งหมด 32 สถานี<ref>{{Cite web|url=https://laotiantimes.com/2017/02/20/everything-you-need-to-know-laos-china-railway/|title=Everything You Need to Know About the Laos-China Railway|date=2017-02-20|website=laotiantimes.com|language=en-US|access-date=2018-12-20}}</ref> สถานีปลายทางคือ[[สถานีรถไฟท่านาแล้ง]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:การขนส่งระบบรางในประเทศลาว]]
{{โครงคมนาคม}}
{{โครงคมนาคม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:46, 7 เมษายน 2563

ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็น
Vientiane–Boten railway
ข้อมูลทั่วไป
สถานะกำลังก่อสร้าง
ที่ตั้งประเทศลาว
ประวัติ
ปีที่เริ่มธันวาคม 2559[1]
แผนการเปิดธันวาคม 2564[2]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง414[3] กิโลเมตร (257 ไมล์)
จำนวนทางวิ่ง1
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ
ระบบจ่ายไฟOverhead line
ความเร็ว160 km/h (ผู้โดยสาร)
120 km/h (ขนส่งสินค้า)[1]

ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็น หรือ ทางรถไฟสายจีน-ลาว เป็นทางรถไฟกำลังก่อสร้างขนาดรางสแตนดาร์ดเกจ 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) มีความยาว 414 กิโลเมตร เชื่อมต่อระหว่างด่านบ่อหาน เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา ประเทศจีน กับประเทศลาวที่บ่อเต็น ผ่านเมืองหลวงพระบางและสิ้นสุดที่เวียงจันทน์ โดยปลายทางทิศเหนือเชื่อมต่อกับทางรถไฟสายอฺวี้ซี-บ่อหาน ส่วนปลายทางทิศใต้เชื่อมกับทางรถไฟสายหนองคาย-ท่านาแล้ง โดยเป็นส่วนหนึ่งของทางรถไฟสายคุณหมิง-สิงคโปร์ เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2559 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2564

การกล่าวถึงทางรถไฟเชื่อมระหว่างประเทศลาวและจีนเกิดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2544 โดยนักการเมืองลาวและจีนร่วมกันยืนยันแผนการสร้างในปี พ.ศ. 2552 แต่มีเหตุการณ์ทุจริตของกระทรวงการรถไฟของประเทศจีนเกิดขึ้น การเริ่มสร้างทางรถไฟสายนี้จึงเลื่อนออกไปจนถึงปี พ.ศ. 2559[4]

ด้วยภูมิประเทศที่เป็นเทือกเขา ทางรถไฟสายเวียงจันทน์-บ่อเต็นมีความยาวเป็นอุโมงค์ร้อยละ 47 และเป็นสะพานรถไฟร้อยละ 15 โดยคิดเป็นจำนวน 75 อุโมงค์และ 167 สะพาน[4] พรมแดนเชื่อมต่อกับประเทศจีนผ่านทางอุโมงค์ความยาว 9,680 เมตร อยู่ในประเทศลาว 7,170 เมตร และอยู่ในประเทศจีน 2,510 เมตร ทางรถไฟสายนี้มีสถานีทั้งหมด 32 สถานี[5] สถานีปลายทางคือสถานีรถไฟท่านาแล้ง

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "Laos-China railway brings changes to Laos". China Daily. 7 August 2017.
  2. https://www.thestar.com.my/news/regional/2020/01/20/chinas-rail-network-opens-up-transport-links-in-laos
  3. "China-Laos railway project set to be complete by late 2021". People's Daily. 20 November 2017.
  4. 4.0 4.1 "Land-locked Laos on track for controversial China rail link". 24 July 2017.
  5. "Everything You Need to Know About the Laos-China Railway". laotiantimes.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2017-02-20. สืบค้นเมื่อ 2018-12-20.