ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประชุมสันติภาพปารีส (ค.ศ. 1919–1920)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919''' เป็นการประชุมของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เพื่อตั้งเงื่อนไขสันติภาพแก่[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]]ผู้แพ้หลังการสงบศึกเมื่อ ค.ศ. 1918 การประชุมมีขึ้นในกรุงปารีส ใน ค.ศ. 1919 และมีนักการทูตจากประเทศและชาติกว่า 32 ประเทศเข้าร่วม พวกเขาพบปะและถกทางเลือกต่าง ๆ และพัฒนาชุดสนธิสัญญา ("สนธิสัญญาสันติภาพกรุงปารีส") สำหรับโลกหลังสงคราม สนธิสัญญาเหล่านี้เปลี่ยนแปลงแผนที่ยุโรปด้วยพรมแดนและประเทศใหม่ ๆ และกำหนดความรับผิดในอาชญากรรมสงครามตลอดจนบทลงโทษทางการเงินที่เข้มงวดต่อเยอรมนี จักรวรรดิอาณานิคมของฝ่ายมหาอำนาจกลางผู้แพ้ในแอฟริกา เอเชียตะวันตกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก จะถูกแบ่งระหว่างและให้อยู่ในอาณัติของจักรวรรดิอาณานิคมฝ่ายชนะ ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาในอดีตที่ต่างกัน และการสถาปนา[[สันนิบาตชาติ]]
'''การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919''' เป็นการประชุมของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เพื่อตั้งเงื่อนไขสันติภาพแก่[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]]ผู้แพ้หลังการสงบศึกเมื่อ ค.ศ. 1918 การประชุมมีขึ้นในกรุงปารีส ใน ค.ศ. 1919 และมีนักการทูตจากประเทศและชาติกว่า 32 ประเทศเข้าร่วม พวกเขาพบปะและถกทางเลือกต่าง ๆ และพัฒนาชุดสนธิสัญญา ("สนธิสัญญาสันติภาพกรุงปารีส") สำหรับโลกหลังสงคราม สนธิสัญญาเหล่านี้เปลี่ยนแปลงแผนที่ยุโรปด้วยพรมแดนและประเทศใหม่ ๆ และกำหนดความรับผิดในอาชญากรรมสงครามตลอดจนบทลงโทษทางการเงินที่เข้มงวดต่อเยอรมนี จักรวรรดิอาณานิคมของฝ่ายมหาอำนาจกลางผู้แพ้ในแอฟริกา เอเชียตะวันตกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก จะถูกแบ่งระหว่างและให้อยู่ในอาณัติของจักรวรรดิอาณานิคมฝ่ายชนะ ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาในอดีตที่ต่างกัน และการสถาปนา[[สันนิบาตชาติ]]


ผู้นำของสี่ "มหาอำนาจ" เป็นศูนย์กลางแห่งกระบวนพิจารณา ได้แก่ ประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]]แห่งสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรี[[เดวิด ลอยด์ จอร์จ]]แห่งสหราชอาณาจักร ประธานาธิบดี[[จอร์จ คลูมองโซ]]แห่งฝรั่งเศส และนายกรัฐมนตรี[[วิตโตริโอ ออร์ลันโด]]แห่งอิตาลี ท้ายสุดออร์ลันโดได้ถอนตัวออกจากการประชุมและไม่มีบทบาทในร่างสุดท้ายของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] เยอรมนีและคอมมิวนิสต์รัสเซียมิได้รับเชิญให้เข้าร่วม แต่อีกหลายชาติส่งตัวแทนเข้าร่วม ซึ่งแต่ละประเทศก็มีวาระแตกต่างกัน พระมหากษัตริย์ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีต่างประเทศพร้อมกลุ่มที่ปรึกษาติดต่อนักข่าวและนักวิ่งเต้นด้วยเหตุผลร้อยแปด ตั้งแต่เอกราชของประเทศเซาท์คอเคซัสไปจนถึงความเท่าเทียมทางเชื้อชาติ
ผู้นำของสี่ "มหาอำนาจ" เป็นศูนย์กลางแห่งกระบวนพิจารณา ได้แก่ ประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]]แห่งสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรี[[เดวิด ลอยด์ จอร์จ]]แห่งสหราชอาณาจักร ประธานาธิบดี[[ฌอร์ฌ กลีม็องซู]]แห่งฝรั่งเศส และนายกรัฐมนตรี[[วิตโตริโอ ออร์ลันโด]]แห่งอิตาลี ท้ายสุดออร์ลันโดได้ถอนตัวออกจากการประชุมและไม่มีบทบาทในร่างสุดท้ายของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] เยอรมนีและคอมมิวนิสต์รัสเซียมิได้รับเชิญให้เข้าร่วม แต่อีกหลายชาติส่งตัวแทนเข้าร่วม ซึ่งแต่ละประเทศก็มีวาระแตกต่างกัน พระมหากษัตริย์ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีต่างประเทศพร้อมกลุ่มที่ปรึกษาติดต่อนักข่าวและนักวิ่งเต้นด้วยเหตุผลร้อยแปด ตั้งแต่เอกราชของประเทศเซาท์คอเคซัสไปจนถึงความเท่าเทียมทางเชื้อชาติ


[[หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
[[หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
[[หมวดหมู่:วูดโรว์ วิลสัน]]
[[หมวดหมู่:วูดโรว์ วิลสัน]]
[[หมวดหมู่:เดวิด ลอยด์ จอร์จ]]
[[หมวดหมู่:เดวิด ลอยด์ จอร์จ]]
[[หมวดหมู่:ฌอร์ฌ กลีม็องซู]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:29, 27 มีนาคม 2563

การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 เป็นการประชุมของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อตั้งเงื่อนไขสันติภาพแก่ฝ่ายมหาอำนาจกลางผู้แพ้หลังการสงบศึกเมื่อ ค.ศ. 1918 การประชุมมีขึ้นในกรุงปารีส ใน ค.ศ. 1919 และมีนักการทูตจากประเทศและชาติกว่า 32 ประเทศเข้าร่วม พวกเขาพบปะและถกทางเลือกต่าง ๆ และพัฒนาชุดสนธิสัญญา ("สนธิสัญญาสันติภาพกรุงปารีส") สำหรับโลกหลังสงคราม สนธิสัญญาเหล่านี้เปลี่ยนแปลงแผนที่ยุโรปด้วยพรมแดนและประเทศใหม่ ๆ และกำหนดความรับผิดในอาชญากรรมสงครามตลอดจนบทลงโทษทางการเงินที่เข้มงวดต่อเยอรมนี จักรวรรดิอาณานิคมของฝ่ายมหาอำนาจกลางผู้แพ้ในแอฟริกา เอเชียตะวันตกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก จะถูกแบ่งระหว่างและให้อยู่ในอาณัติของจักรวรรดิอาณานิคมฝ่ายชนะ ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาในอดีตที่ต่างกัน และการสถาปนาสันนิบาตชาติ

ผู้นำของสี่ "มหาอำนาจ" เป็นศูนย์กลางแห่งกระบวนพิจารณา ได้แก่ ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันแห่งสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรีเดวิด ลอยด์ จอร์จแห่งสหราชอาณาจักร ประธานาธิบดีฌอร์ฌ กลีม็องซูแห่งฝรั่งเศส และนายกรัฐมนตรีวิตโตริโอ ออร์ลันโดแห่งอิตาลี ท้ายสุดออร์ลันโดได้ถอนตัวออกจากการประชุมและไม่มีบทบาทในร่างสุดท้ายของสนธิสัญญาแวร์ซาย เยอรมนีและคอมมิวนิสต์รัสเซียมิได้รับเชิญให้เข้าร่วม แต่อีกหลายชาติส่งตัวแทนเข้าร่วม ซึ่งแต่ละประเทศก็มีวาระแตกต่างกัน พระมหากษัตริย์ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีต่างประเทศพร้อมกลุ่มที่ปรึกษาติดต่อนักข่าวและนักวิ่งเต้นด้วยเหตุผลร้อยแปด ตั้งแต่เอกราชของประเทศเซาท์คอเคซัสไปจนถึงความเท่าเทียมทางเชื้อชาติ