ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุลีป สิงห์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8205637 สร้างโดย Chainwit. (พูดคุย): Ranjit रणजीत = รณชีต ไม่ใช่ รันจิต
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Maharajah Duleep Singh dressed for a State function, c. 1875.jpg|thumb|ทุลีปใน ค.ศ. 1875]]
[[ไฟล์:Maharajah Duleep Singh dressed for a State function, c. 1875.jpg|thumb|ทุลีปใน ค.ศ. 1875]]


'''ทุลีป สิงห์''' ({{lang-roman|Duleep Singh}}; 6 กันยายน ค.ศ. 1838 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1893) หรือ '''ทลีป สิงห์''' ({{lang-roman|Dalip Singh}}) สมัญญาว่า '''องค์ดำแห่ง[[เพิร์ทเชอร์]]''' ({{lang-en|Black Prince of Perthshire}}) เป็น[[มหาราชา]]องค์สุดท้ายแห่ง[[จักรวรรดิซิกข์]] เป็นบุตรสุดท้องของมหาราชา[[รันจิต สิงห์]] (Ranjit Singh) กับมหารานี[[ชินท์ เการ์]] (Jind Kaur)<ref>{{cite web|title=The Black Prince of Perthshire|url=http://www.scotsman.com/heritage/people-places/prince-of-punjab-and-perthshire-remembering-maharajah-duleep-singh-1-2506091|website=The Scotsman|accessdate=26 January 2017}}</ref>
'''ทุลีป สิงห์''' ({{lang-roman|Duleep Singh}}; 6 กันยายน ค.ศ. 1838 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1893) หรือ '''ทลีป สิงห์''' ({{lang-roman|Dalip Singh}}) สมัญญาว่า '''องค์ดำแห่ง[[เพิร์ทเชอร์]]''' ({{lang-en|Black Prince of Perthshire}}) เป็น[[มหาราชา]]องค์สุดท้ายแห่ง[[จักรวรรดิซิกข์]] เป็นบุตรสุดท้องของมหาราชา[[รณชีต สิงห์]] (Ranjit Singh) กับมหารานี[[ชินท์ เการ์]] (Jind Kaur)<ref>{{cite web|title=The Black Prince of Perthshire|url=http://www.scotsman.com/heritage/people-places/prince-of-punjab-and-perthshire-remembering-maharajah-duleep-singh-1-2506091|website=The Scotsman|accessdate=26 January 2017}}</ref>


หลังจากมหาราชาสี่องค์ก่อนหน้าถูกลอบปลงพระชนม์ ทุลีปวัย 5 ปีได้สืบทอดราชสมบัติในเดือนกันยายน ค.ศ. 1843 และมหารานีชินท์ผู้เป็นสมเด็จพระชนนีช่วยทำนุบำรุงประคองราชการแผ่นดิน แต่ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1846 เกิด[[สงครามอังกฤษ–ซิกข์ครั้งแรก]] อังกฤษถอดมหารานีชินท์ออกจากฐานันดรไปจำคุกไว้ แล้วตั้งข้าราชการอังกฤษเป็น[[Resident (title)|เรซิเดนต์]] (resident) สำเร็จราชการแทน นับแต่นั้นจนเกือบ 14 ปีให้หลัง ทุลีปมิได้พบหน้ามารดาอีกเลย ครั้นเดือนเมษายน ค.ศ. 1849 ทุลีปอายุได้ 10 ปี อังกฤษปลดทุลีปจากราชบัลลังก์ และตั้งนายแพทย์จอห์น ลอกิน (John Login) มาอภิบาลเขาแทน พอ ค.ศ. 1853 ทุลีปเข้ารีตเป็นคริสต์ศาสนิกชน
หลังจากมหาราชาสี่องค์ก่อนหน้าถูกลอบปลงพระชนม์ ทุลีปวัย 5 ปีได้สืบทอดราชสมบัติในเดือนกันยายน ค.ศ. 1843 และมหารานีชินท์ผู้เป็นสมเด็จพระชนนีช่วยทำนุบำรุงประคองราชการแผ่นดิน แต่ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1846 เกิด[[สงครามอังกฤษ–ซิกข์ครั้งแรก]] อังกฤษถอดมหารานีชินท์ออกจากฐานันดรไปจำคุกไว้ แล้วตั้งข้าราชการอังกฤษเป็น[[Resident (title)|เรซิเดนต์]] (resident) สำเร็จราชการแทน นับแต่นั้นจนเกือบ 14 ปีให้หลัง ทุลีปมิได้พบหน้ามารดาอีกเลย ครั้นเดือนเมษายน ค.ศ. 1849 ทุลีปอายุได้ 10 ปี อังกฤษปลดทุลีปจากราชบัลลังก์ และตั้งนายแพทย์จอห์น ลอกิน (John Login) มาอภิบาลเขาแทน พอ ค.ศ. 1853 ทุลีปเข้ารีตเป็นคริสต์ศาสนิกชน


ครั้นอายุ 15 ปี ทุลีปถูกเนรเทศไปยัง[[บริเตน]] เขาได้รู้จักกับและเป็นที๋โปรดปรานของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|พระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ผู้ซึ่งต่อมามีราชหัตถเลขาเกี่ยวกับทุลีปว่า "ดวงตาคู่นั้น กับฟันเหล่านั้น ช่างสวยเหลือเกิน" (Those eyes and those teeth are too beautiful)<ref name="Eton">[http://news.bbc.co.uk/2/hi/south_asia/4309213.stm Eton, the Raj and modern India]; By Alastair Lawson; 9 March 2005; BBC News.</ref>
ครั้นอายุ 15 ปี ทุลีปถูกเนรเทศไปยัง[[บริเตน]] เขาได้รู้จักกับและเป็นที่โปรดปรานของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|พระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ผู้ซึ่งต่อมามีราชหัตถเลขาเกี่ยวกับทุลีปว่า "ดวงตาคู่นั้น กับฟันเหล่านั้น ช่างสวยเหลือเกิน" (Those eyes and those teeth are too beautiful)<ref name="Eton">[http://news.bbc.co.uk/2/hi/south_asia/4309213.stm Eton, the Raj and modern India]; By Alastair Lawson; 9 March 2005; BBC News.</ref>


ใน ค.ศ. 1856 ทุลีปพยายามติดต่อกับมารดา แต่จดหมายและคนใช้ที่เขาส่งไปหามารดาถูกข้าราชการอังกฤษในอินเดียดักจับไว้ได้ จึงไปไม่ถึงมารดา ทว่า ทุลีปยังพยายามต่อไป โดยได้ความช่วยเหลือจากนายแพทย์ลอกิน จนที่สุดอังกฤษก็ยอมให้เขาพบหน้ามารดาเมื่อวัน 16 มกราคม ค.ศ. 1861 ณ โรงแรมสเปนซ์ (Spence's Hotel) ในนคร[[โกลกาตา]] ทั้งยอมให้เขาพามารดากลับสหราชอาณาจักรด้วย<ref>E Dalhousie Login, ''Lady Login's Recollections, Chapter 14'', Smith Elder, 1916</ref> อดีตมหารานีใช้ชีวิตบั้นปลายบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับจักรวรรดิซิกข์อันยิ่งใหญ่ให้บุตรผู้เป็นมหาราชาพลัดแผ่นดินฟัง
ใน ค.ศ. 1856 ทุลีปพยายามติดต่อกับมารดา แต่จดหมายและคนใช้ที่เขาส่งไปหามารดาถูกข้าราชการอังกฤษในอินเดียดักจับไว้ได้ จึงไปไม่ถึงมารดา ทว่า ทุลีปยังพยายามต่อไป โดยได้ความช่วยเหลือจากนายแพทย์ลอกิน จนที่สุดอังกฤษก็ยอมให้เขาพบหน้ามารดาเมื่อวัน 16 มกราคม ค.ศ. 1861 ณ โรงแรมสเปนซ์ (Spence's Hotel) ในนคร[[โกลกาตา]] ทั้งยอมให้เขาพามารดากลับสหราชอาณาจักรด้วย<ref>E Dalhousie Login, ''Lady Login's Recollections, Chapter 14'', Smith Elder, 1916</ref> อดีตมหารานีใช้ชีวิตบั้นปลายบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับจักรวรรดิซิกข์อันยิ่งใหญ่ให้บุตรผู้เป็นมหาราชาพลัดแผ่นดินฟัง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:58, 11 ธันวาคม 2562

ทุลีปใน ค.ศ. 1875

ทุลีป สิงห์ (อักษรโรมัน: Duleep Singh; 6 กันยายน ค.ศ. 1838 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1893) หรือ ทลีป สิงห์ (อักษรโรมัน: Dalip Singh) สมัญญาว่า องค์ดำแห่งเพิร์ทเชอร์ (อังกฤษ: Black Prince of Perthshire) เป็นมหาราชาองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิซิกข์ เป็นบุตรสุดท้องของมหาราชารณชีต สิงห์ (Ranjit Singh) กับมหารานีชินท์ เการ์ (Jind Kaur)[1]

หลังจากมหาราชาสี่องค์ก่อนหน้าถูกลอบปลงพระชนม์ ทุลีปวัย 5 ปีได้สืบทอดราชสมบัติในเดือนกันยายน ค.ศ. 1843 และมหารานีชินท์ผู้เป็นสมเด็จพระชนนีช่วยทำนุบำรุงประคองราชการแผ่นดิน แต่ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1846 เกิดสงครามอังกฤษ–ซิกข์ครั้งแรก อังกฤษถอดมหารานีชินท์ออกจากฐานันดรไปจำคุกไว้ แล้วตั้งข้าราชการอังกฤษเป็นเรซิเดนต์ (resident) สำเร็จราชการแทน นับแต่นั้นจนเกือบ 14 ปีให้หลัง ทุลีปมิได้พบหน้ามารดาอีกเลย ครั้นเดือนเมษายน ค.ศ. 1849 ทุลีปอายุได้ 10 ปี อังกฤษปลดทุลีปจากราชบัลลังก์ และตั้งนายแพทย์จอห์น ลอกิน (John Login) มาอภิบาลเขาแทน พอ ค.ศ. 1853 ทุลีปเข้ารีตเป็นคริสต์ศาสนิกชน

ครั้นอายุ 15 ปี ทุลีปถูกเนรเทศไปยังบริเตน เขาได้รู้จักกับและเป็นที่โปรดปรานของพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผู้ซึ่งต่อมามีราชหัตถเลขาเกี่ยวกับทุลีปว่า "ดวงตาคู่นั้น กับฟันเหล่านั้น ช่างสวยเหลือเกิน" (Those eyes and those teeth are too beautiful)[2]

ใน ค.ศ. 1856 ทุลีปพยายามติดต่อกับมารดา แต่จดหมายและคนใช้ที่เขาส่งไปหามารดาถูกข้าราชการอังกฤษในอินเดียดักจับไว้ได้ จึงไปไม่ถึงมารดา ทว่า ทุลีปยังพยายามต่อไป โดยได้ความช่วยเหลือจากนายแพทย์ลอกิน จนที่สุดอังกฤษก็ยอมให้เขาพบหน้ามารดาเมื่อวัน 16 มกราคม ค.ศ. 1861 ณ โรงแรมสเปนซ์ (Spence's Hotel) ในนครโกลกาตา ทั้งยอมให้เขาพามารดากลับสหราชอาณาจักรด้วย[3] อดีตมหารานีใช้ชีวิตบั้นปลายบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับจักรวรรดิซิกข์อันยิ่งใหญ่ให้บุตรผู้เป็นมหาราชาพลัดแผ่นดินฟัง

อ้างอิง

  1. "The Black Prince of Perthshire". The Scotsman. สืบค้นเมื่อ 26 January 2017.
  2. Eton, the Raj and modern India; By Alastair Lawson; 9 March 2005; BBC News.
  3. E Dalhousie Login, Lady Login's Recollections, Chapter 14, Smith Elder, 1916