ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


==พระประวัติ==
==พระประวัติ==
หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช]] กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม โสณกุล) มีโสทรภราดาและโสทรขนิษฐาสามองค์ ได้แก่ หม่อมเจ้านิวาศสวัสดี จิรประวัติ, [[หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ]] และหม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม และมีอนุชาต่างพระมารดาสององค์ ได้แก่ [[หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ]] และ[[หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ]]
หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช]] กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม โสณกุล) มีโสทรอนุชาและโสทรขนิษฐา 3 องค์ ได้แก่
* หม่อมเจ้านิวาศสวัสดี จิรประวัติ
* [[หม่อมเจ้าประสบศรีจิรประวัติ จิรประวัติ]]
* หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
และมีอนุชาต่างพระมารดา 2 องค์ ได้แก่
* [[หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ]]
* [[หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ]]


หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช เป็นที่รักและโปรดปรานของ[[เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมมารดาทับทิม]] ผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดามาก หลังจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช สิ้นพระชนม์ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย]] ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ออกมาประทับอยู่วัง[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร]] พระโอรสและพระธิดาทั้งสององค์นั้นกับทั้งหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ดำรัสเรียกว่า "หญิงทับทิม" ซึ่งอัยยิกาเลี้ยงติดตัวมาแต่เล็ก ช่วยกันอุปฐากท่านมาด้วยกันกับหม่อมเจ้าที่เป็นพระสุนิสาและเป็นพระโอรส-ธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช และในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร ซึ่งเจริญวัยสำเร็จการเล่าเรียนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับมา ให้ท่านอยู่เย็นเป็นสุขสบายจนตลอดชีวิต<ref>[http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=rattanakosin225&date=16-03-2007&group=1&gblog=4 เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ ๕] จากเว็บไซต์ bloggang.com สืบค้าเมื่อ 19-03-57</ref>
หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช เป็นที่รักและโปรดปรานของ[[เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมมารดาทับทิม]] ผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดามาก หลังจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช สิ้นพระชนม์ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย]] ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ออกมาประทับอยู่วัง[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร]] พระโอรสและพระธิดาทั้งสององค์นั้นกับทั้งหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ดำรัสเรียกว่า "หญิงทับทิม" ซึ่งอัยยิกาเลี้ยงติดตัวมาแต่เล็ก ช่วยกันอุปฐากท่านมาด้วยกันกับหม่อมเจ้าที่เป็นพระสุนิสาและเป็นพระโอรส-ธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช และในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร ซึ่งเจริญวัยสำเร็จการเล่าเรียนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับมา ให้ท่านอยู่เย็นเป็นสุขสบายจนตลอดชีวิต<ref>[http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=rattanakosin225&date=16-03-2007&group=1&gblog=4 เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ ๕] จากเว็บไซต์ bloggang.com สืบค้าเมื่อ 19-03-57</ref>


หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช มีฝีมือในการประกอบอาหารเป็นเลิศ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากเจ้าจอมมารดาทับทิมผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดา หม่อมเจ้าวิมลปัทมราชได้นิพนธ์ตำราอาหารไว้เมื่อตอนยังมีพระชนม์ชีพ ต่อมาเมื่อหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 สิริชันษา 65 ปี ตำราอาหารนี้ได้รับการตีพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพของท่าน ณ [[วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร]] เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2508
หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช มีฝีมือในการประกอบอาหารเป็นเลิศ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากเจ้าจอมมารดาทับทิมผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดา หม่อมเจ้าวิมลปัทมราชได้นิพนธ์ตำราอาหารไว้เมื่อตอนยังมีชนม์ชีพ ต่อมาเมื่อหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 สิริชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงศพ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 ที่[[วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร]] โดยตำราอาหารนั้นได้พิมพ์แจกในงาน


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:09, 6 ธันวาคม 2562

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ
หม่อมเจ้า ชั้น 5
ประสูติ17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442
สิ้นชีพตักษัย3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 (65 ปี)
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
พระมารดาหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม โสณกุล)[1]

พระประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม โสณกุล) มีโสทรอนุชาและโสทรขนิษฐา 3 องค์ ได้แก่

และมีอนุชาต่างพระมารดา 2 องค์ ได้แก่

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช เป็นที่รักและโปรดปรานของเจ้าจอมมารดาทับทิม ผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดามาก หลังจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช สิ้นพระชนม์ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ออกมาประทับอยู่วังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร พระโอรสและพระธิดาทั้งสององค์นั้นกับทั้งหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดำรัสเรียกว่า "หญิงทับทิม" ซึ่งอัยยิกาเลี้ยงติดตัวมาแต่เล็ก ช่วยกันอุปฐากท่านมาด้วยกันกับหม่อมเจ้าที่เป็นพระสุนิสาและเป็นพระโอรส-ธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช และในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร ซึ่งเจริญวัยสำเร็จการเล่าเรียนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับมา ให้ท่านอยู่เย็นเป็นสุขสบายจนตลอดชีวิต[2]

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช มีฝีมือในการประกอบอาหารเป็นเลิศ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากเจ้าจอมมารดาทับทิมผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดา หม่อมเจ้าวิมลปัทมราชได้นิพนธ์ตำราอาหารไว้เมื่อตอนยังมีชนม์ชีพ ต่อมาเมื่อหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 สิริชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงศพ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 ที่วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร โดยตำราอาหารนั้นได้พิมพ์แจกในงาน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

พงศาวลี

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
 
 
 
 
 
 
8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. (=25.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
 
 
 
 
 
 
 
9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20. จมื่นอินทร์ประพาศ (เลี้ยง โรจนดิศ)
 
 
 
 
 
 
 
10. พระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
21. ท้าวมังสี (ขำ)
 
 
 
 
 
 
 
5. เจ้าจอมมารดาทับทิม
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
22.
 
 
 
 
 
 
 
11. อิ่ม โรจนดิศ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
23.
 
 
 
 
 
 
 
1. หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
 
 
 
 
 
 
12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
25. (=17.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
6. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
26. สมบุญ งามสมบัติ
 
 
 
 
 
 
 
13. ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
27. ท้าวปฏิบัติบิณฑทาน (ถ้วย งามสมบัติ)
 
 
 
 
 
 
 
3. หม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28.
 
 
 
 
 
 
 
14. หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
29.
 
 
 
 
 
 
 
7. หม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
30.
 
 
 
 
 
 
 
15. สุ่น กุณฑลจินดา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
31.
 
 
 
 
 
 

อ้างอิง

  1. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ. จุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ :พระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนัดดา. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2548. 136 หน้า. ISBN 9742217467
  2. เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ ๕ จากเว็บไซต์ bloggang.com สืบค้าเมื่อ 19-03-57
  3. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลปัตยุบันฝ่ายใน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 25 (35): 1015. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)