ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สวยงาม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8059404 โดย Skoskosด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Newtonian.jpg|thumb|250px|ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง<ref>http://www.garyseronik.com/?q=node/8 สือค้นวันที่ 28/3/2556</ref>]]
วัดวังขนายทายิการามมีประวัติความ เป็นมาการสร้างวัดดังนี้ เมื่อวันที่ 12 ก.ค. 2486 ตรงกับขึ้น11ค่ำ เดือน8 ปีมะแม ซึ่งตามวัน เดือน ปี ดังกล่าวนี้ มีพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ พระอาจารย์ผลัด ฉายา ฐานโก ได้เดินทางผ่านมาในหมู่บ้านวังขนาย ซึ่งสมัยนั้นยังไม่มีวัดอยู่เลย โดยในครั้งแรกท่านตั้งใจจะขึ้นไปจำพรรษายัง "วัดศรีโลหะราษฏร์บำรุง" แต่มีเหตุขัดข้องบางประการ ไม่สามารถจะอยู่จำพรรษาได้ จึงคิดเดินทางกลับ จ.สมุทรสงครามบ้านเกิด ขากลับได้แวะที่หมู่บ้านวังขนายเพื่อเยี่ยมญาติโยม ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ท่านค้างที่หมู่บ้านหนึ่งคืน คืนนั้นหมอศาสตร์ สดวิไล ซึ่งเป็นแพทย์ประจำตำบลวังขนาย ได้นิมนต์ท่านไปจำวัดที่โรงเรียน ซึ่งในคืนนั้นได้มีการพูดคุยกันหลายเรื่อง ขณะที่นั่งคุยกันอยู่นั้น หมอสาดก็ได้ปรารภถึงเรื่องวัดในหมู่บ้าน ว่าขณะนี้ยังไม่มีวัดประจำหมู่บ้านเลย โรงเรียนก็มีอยู่แล้ว ถ้าได้สร้างวัดขึ้นที่นี่ จะขอนิมนต์ท่านมาอยู่ จะขัดข้องไหม? พระอาจารย์ผลัดท่านก็ตอบว่าไม่ขัดข้อง
[[ไฟล์:NewtonsTelescopeReplica.jpg|thumb|แบบจำลองจาก[[กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง]]ตัวที่สองของนิวตัน ซึ่งเขานำเสนอต่อ[[ราชสมาคมแห่งลอนดอน]]ในปี 1672<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=KAWwzHlDVksC&dq=history+of+the+telescope&printsec=frontcover |title='&#39;The History of the Telescope'&#39; By Henry C. King, Page 74 |publisher=Google Books |accessdate=16 January 2010|isbn=978-0-486-43265-6|author1=King, Henry C|year=2003}}</ref>]]
รุ่งขึ้น หมอสาดได้เข้าไปในหมู่บ้านเพื่อชักชวนชาวบ้านให้มาทำบุญ โดยเชิญกำนัน ผู้ใหญ่บ้านมาร่วมประชุมกับชาวบ้านเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับเรื่องการ นิมนต์พระอาจารย์ผลัดมาจำพรรษาและการสร้างวัด หลังจากประชุมกันแล้ว ที่ประชุมก็เห็นด้วย โดยมี คุณแม่ชีเยื้อน ฉินโภคะ เป็นผู้มอบที่ดินให้เพื่อก่อสร้างวัด 90 ไร่ ชาวบ้านจึงพร้อมใจช่วยกันสร้างวัดขึ้นให้ทันในพรรษานั้น โดยทำกันทั้งกลางวันและกลางคืนจนสามารถเป็นกุฏิขึ้น 2 หลังๆละ 3 ห้อง ซึ่งในพรรษาแรกนั้น มีพระภิกษุจำพรรษา 5 รูป โดยพระอาจารย์ผลัดเป็นเจ้าอาวาสองค์แรก โดยมีชื่อว่า"วัดวังขนายทายิการาม" ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา และต่อมาได้เจ้าอาวาสองค์ใหม่ต่อจากอาจารย์ผลัดคือ พระอธิการพุฒ พอพระอธิการพุฒลาสิกขาบทไป ก็ทำให้ตำแหน่งเจ้าอาวาสว่างลง ชาวบ้านจึงพากันไปกราบอาราธนานิมนต์หลวงพ่อเสนาะจากวัด ต้นลำใยให้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดวังขนายเมื่อปี พ.ศ.2501 หลังจากหลวงพ่อเสนาะเข้ามารับตำแหน่งเจ้าอาวาส และปฏิบัติหน้าที่ได้ไม่นานก็ได้เลื่อนลำดับชั้นขึ้นเป็นเจ้าคณะตำบล - พระอุปัชฌาย์ - รองเจ้าคณะอำเภอ - เจ้าคณะอำเภอตามลำดับในปีเดียวกันนั้นเอง จนกระทั่งหลวงพ่อเสนาะท่านได้ยุติการทำงานของท่านพร้อมกับลมหายใจครั้งสุด ท้าย โดยท่านได้ละสังขารเมื่อ วันที่ 21 ก.พ. 2536 หลังจากหลวงพ่อเสนาะ หรือ พระครูกาญจนปริยัติคุณได้มรณภาพลงแล้ว ชาวบ้านจึงได้กราบอาราธนา พระครูกาญจนสุตาคม มาเป็นเจ้าอาวาสเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2536 จนถึงปัจจุบัน ..
[[ไฟล์:กระจกโค้งและกระจกรูปพาราโบลา.jpeg|thumb|รูปa กระจกโค้งแบบพาราโบลาจุดโฟกัสรวมกันที่จุดเดียว รูปb กระจกโค้งทรงกลมจุดโฟกัสไม่รวมกันที่จุดเดียว<ref>Lifang Li, Andres Kecskemethy, A. F. M. Arif and Steven Dubowsky. '''Optimized Bands: A New Design Concept for Concentrating Solar Parabolic Mirrors'''. http://solarenergyengineering.asmedigitalcollection.asme.org</ref>]]
.........................................................
'''กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง''' ({{lang-en|reflecting telescope}}) เป็น[[กล้องโทรทรรศน์]]ชนิดหนึ่งที่ใช้กระจกโค้งหนึ่งชิ้นหรือมากกว่านั้นเพื่อสะท้อนแสงสำหรับสร้างขึ้นเป็นภาพ คิดค้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อแก้ปัญหาของ[[กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง]]ที่มีปัญหาเรื่อง[[ความคลาดสี]] (chromatic aberration) อย่างมาก แม้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงจะทำให้เกิดปัญหา[[ความคลาดแสง]] (optical aberration) แต่ก็ช่วยให้สามารถจับภาพวัตถุขนาดใหญ่มากๆ ได้ กล้องโทรทรรศน์ส่วนใหญ่ที่ใช้ในงานด้าน[[ดาราศาสตร์]]มักเป็นแบบสะท้อนแสงแทบทั้งหมด และมีการออกแบบปลีกย่อยอีกมากมายหลายแบบเพื่อปรับปรุงคุณภาพของภาพที่ได้ไม่นาน ความต้องการกล้องขนาดใหญ่เพื่อใช้
==ประวัติการคิดค้นกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง==
หลวงพ่อสรรเพชญ
หลังจาก[[กาลิเลโอ]]เริ่มสำรวจจักรวาลด้วย[[กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง]]ได้ไม่นาน ความต้องการกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่เพื่อใช้รวมแสงจากวัตถุที่มีแสงริบหรีก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผนวกกับข้อจำกัดต่างๆ ในการสร้างกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงขนาดใหญ่ จึ่งมีผู้พยายามคิดค้นวิธีสร้างกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (Reflecting Telescope) ในปี[[ค.ศ. 1663]] [[เจมส์ เกรกอรี]] (James Gregoy)[[นักคณิตศาสตร์]][[ชาวสกอต]] ได้ออกแบบกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ในเวลานั้นเกรกอรีไม่สามารถหาช่างขัดกระจกที่มีความสามารถพอจะขัดกระจกโค้งตามแบบได้ จึงยังไม่มีการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นอย่างจริงจัง จนกระทั่ง [[เซอร์ ไอแซก นิวตัน]] (Sir Isaac Newton) ออกแบบและประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงของเขาขึ้นในปีค.ศ. [[1668]] และเสนอต่อ[[ราชบัณฑิตยสภา]]ของ[[อังกฤษ]]ใน[[เดือนมกราคม]]ปี[[ค.ศ. 1672]]
เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สรัางในสมัยอยุธยา
ทำด้วยศิลาแลง หน้าตักกว้าง 29 นิ้ว


==หลักการทั่วไปของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง==
ตามคำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ที่เล่าต่อๆกันมาว่า ได้มีคนนำหลวงพ่อสรรเพชญล่องมากับแพและเมื่อแพได้ล่องมาถึงตำบลวังขนาย แพได้มาติดอยู่ที่เกาะวังขนาย ชาวบ้านมาพบเห็นเข้า จึงได้อาราธนานำไปไว้ที่ถ้ำกูป ตำบลบ้านใหม่ อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี มีอยู่ด้วยกัน3 องค์ แต่อีก 2 องค์ไม่ทราบว่าตกไปอยู่ที่ใด
กล้องแบบดั่งเดิมของนิวตันใช้กระจกโค้งที่ท้ายกล้อง สะท้อนแสงที่เข้าสู่กล้องให้มารวมกันที่[[จุดโฟกัส]]โดยกระจกโค้งที่ใช้รวมแสงนี้เรียกว่า กระจกปฐมภูมิ (Primary Mirror) จากนั้นแสงจะถูกสะท้อนออกจากแนวของกล้องด้วยกระจกทุติยภูมิ (Secondary Mirror)ซึ่งเป็นกระจกราบ เข้าสู่เลนส์ตาเพื่อขยายภาพให้สังเกตได้คล้ายกับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
หลวงพ่อเสนาะอดีตเจ้าอาวาสวัดวังขนายฯสมัยที่ท่านยังไม่ได้บวชเป็นพระ ท่านทำไร่ยาสูบอยู่บริเวณถ้ำกูป ท่านเคยขึ้น ไปกราบไหว้และอธิษฐานว่า ถ้าท่านบวชเป็นพระและได้เป็นเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่ง ท่านจะนำหลวงพ่อสรรเพชญองค์นี้ไปอยู่ด้วยกัน
กล้องในสมัยของนิวตัน ความโค้งของกระจกที่ใช้เป็นความโค้งแบบผิว[[ทรงกลม]] (Spherical Curvature)ซึ่งจะประสบปัญหา[[ความคลาดทรงกลม]] (Spherical Aberration) ทำให้ภาพของวัตถุที่เป็น[[วงกลม]]เห็นเป็น[[วงรี]] ในปัจจุบันปัญหานี้แก้วได้โดยการขัดกระจกให้โค้งเป็นรูป[[พาราโบลา]] (Parabolic Curvature) ซึ่งทำให้แสงทุกสีสะท้อนไปที่จุดโฟกัสที่จุดเดียวกัน กล้องสะท้อนแสงส่วนใหญ่จึงใช้กระจกที่มีพื้นที่ผิวรูปพาราโบลา
ก่อนหน้าที่หลวงพ่อเสนาะจะมาเป็นเจ้าอาวาสวัดวังขนายฯ ท่านบวชอยู่ที่วัดต้นลำใยในเขตอำเภอท่าม่วง อยู่ที่วัดต้นลำใย 11 พรรษา ต่อจากนั้นชาวบ้านจึงได้กราบนิมนต์ท่านมาอยู่ที่วัดวังขนายเมื่อปี พ.ศ.2501 แต่หลวงพ่อสรรเพชญนั้น ชาวบ้านได้อาราธนามาอยู่ที่วัดวังขนายฯก่อนหน้าท่านแล้ว 3 ปี เมื่อหลวงพ่อเสนาะมาพบหลวงพ่อสรรเพชญที่วัดวังขนายฯ ท่านจึงนำไปไว้ที่กุฏิของท่าน

จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ.2525 ทางวัดวังขนายได้ทำการก่อสร้างวิหารฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ ทางวัดจึงได้อาราธนาหลวงพ่อสรรเพชญไปประดิษฐานอยู่ที่นั่นจนถึงปัจจุบัน
กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงสามารถสร้างให้มีขนาดใหญ่ในราคาที่ถูกว่ากล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงมา ปัจจุบันกล้องโทรทรรศน์ตามหอดูดาวขนาดใหญ่จะนิยมใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงทั้งสิ้น กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลกในปัจจุบันคือ กล้อง [[LBT]] (Large Binocular Telescope) ตั้งอยู่ที่ Mount Graham International Observatory [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]เป็นกล้องแบบสะท้อนแสงที่มีขนาดกระจกปฐมภูมิขนาด 11.8 เมตร นอกจากนี้ [[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]] (Hubble Space Telescope) ก็เป็นกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงเช่นกัน การที่แสงไม่ต้องเดินทางผ่านชิ้นส่วนเลนส์ในกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง ทำให้มีข้อได้เปรียบกว่ากล้องโทรทรรศน์หักเหแสงอยู่สองประการ
* กล้องจะไม่มีปัญหาความคลาดสีของชิ้นเลนส์
* กล้องจะไม่ประสบปัญหาการดูดกลืนแสงในช่วงคลื่นต่างๆ ทำให้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงสามารถสังเกตวัตถุในช่วงคลื่น[[อัลตราไวโอเลต]]

==ข้อจำกัดของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง==
ข้อเสียเปรียบของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง คือ การมีกระจกทุติยภูมิอยู่ภายในตัวกล้องละขวางทางเดินแสงบางส่วน ทำให้ภาพมืดลงเล็กน้อย ในกรณีที่กระจกทุติยภูมิมีขนาดใหญ่ (มีพื้นที่มากกว่าร้อยละ 20 ของหน้ากล้อง) ภาพที่สังเกตได้จะมืดลงอย่างเห็นได้ชัด หรือมีภาพกระจกทุติยภูมิเป็นจุดมัวให้เห็น นอกจากนี้การสะท้อนแสงในกล้องแต่ละครั้งทำให้สูญเสียความเข้มแสงไปพอสมควร เพราะกระจกทั่วไปมักจะสะท้อนแสงได้เพียงร้อยละ 85-90 ของแสงที่ตกกระทบเท่านั้น หรือสูญเสียแสงไปถึงร้อยละ 10-15 ทุกครั้งที่มีการสะท้อน หากมีการสะท้อนหลายครั้งก็จะยิ่งทำให้ภาพมืดลง

ปัญหาที่สำคัญของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง คือ ความคลาดเคลื่อนของการวางตัวของระบบกระจก (Optical Alignment) เนื่องจากกระบบกระจกของกล้องสะท้อนแสงต้องอยู่ในแนวเดียวกันอย่างเที่ยงตรงมาก หากคลาดเคลื่อนไปเพียงเล็กน้อยก็จะได้ภาพมัวลงอย่างชัดเจน ในการเคลื่อนย้ายกล้อง กระจกมักจะเคลื่อนไปเล็กน้อยเสมอ จึงต้องปรับเล็งใหม่บ่อยครั้ง การปรับเล็งกระจกให้วางต้วเรียงกันอย่างแม่นยำนี้เป็นกระบวนการที่ใช้เวลาพอสมควรสำหรับผู้เริ่มต้น แต่เมื่อทำจนชำนาญแล้วก็จะสามารถปรับได้อย่างรวดเร็ว

นอกจากกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบนิวตัน (Newtonian) ซึ่งผู้สังเกตมองจากด้านข้างกล้องแล้ว ยังมีกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงอื่นๆ เช่น แคสสิเกรน (Cassegrain) ริตเช-เครเตียง (Ritchey-Chertien) กูเด (Coude) แนสมิธ (Nasmyth)

== การออกแบบกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบต่างๆ ==

{{โครงส่วน}}

=== นิวโตเนียน ===
[[ไฟล์:Newtonian.jpg|thumb|center|250px|ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Newtonian<ref>http://www.garyseronik.com/?q=node/8 สือค้นวันที่ 28/3/2556</ref>]]

=== คาสเซเกรน ===
[[ไฟล์:Cassegrain.png|thumb|center|250px|ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Cassegrain]]

=== ริตชีย์-เครเชี่ยน ===
[[ไฟล์:Ritchey-Chrétien.png|thumb|center|250px|ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Ritchey-Chertien]]

===แนสมิธ===
[[ไฟล์:Nasmyth-Telescope.svg|thumb|center|250px|ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Nasmyth]]


==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
* วิภู รุโจปการ. '''เอกภพเพื่อความเข้าใจในธรรมชาติของจักรวาล.''' กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั้นส์ จำกัด. 2546
[[หมวดหมู่:กล้องโทรทรรศน์]]
{{โครงดาราศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:46, 8 กุมภาพันธ์ 2562

ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง[1]
แบบจำลองจากกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงตัวที่สองของนิวตัน ซึ่งเขานำเสนอต่อราชสมาคมแห่งลอนดอนในปี 1672[2]
รูปa กระจกโค้งแบบพาราโบลาจุดโฟกัสรวมกันที่จุดเดียว รูปb กระจกโค้งทรงกลมจุดโฟกัสไม่รวมกันที่จุดเดียว[3]

กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง (อังกฤษ: reflecting telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์ชนิดหนึ่งที่ใช้กระจกโค้งหนึ่งชิ้นหรือมากกว่านั้นเพื่อสะท้อนแสงสำหรับสร้างขึ้นเป็นภาพ คิดค้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อแก้ปัญหาของกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงที่มีปัญหาเรื่องความคลาดสี (chromatic aberration) อย่างมาก แม้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงจะทำให้เกิดปัญหาความคลาดแสง (optical aberration) แต่ก็ช่วยให้สามารถจับภาพวัตถุขนาดใหญ่มากๆ ได้ กล้องโทรทรรศน์ส่วนใหญ่ที่ใช้ในงานด้านดาราศาสตร์มักเป็นแบบสะท้อนแสงแทบทั้งหมด และมีการออกแบบปลีกย่อยอีกมากมายหลายแบบเพื่อปรับปรุงคุณภาพของภาพที่ได้ไม่นาน ความต้องการกล้องขนาดใหญ่เพื่อใช้

ประวัติการคิดค้นกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง

หลังจากกาลิเลโอเริ่มสำรวจจักรวาลด้วยกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงได้ไม่นาน ความต้องการกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่เพื่อใช้รวมแสงจากวัตถุที่มีแสงริบหรีก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผนวกกับข้อจำกัดต่างๆ ในการสร้างกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงขนาดใหญ่ จึ่งมีผู้พยายามคิดค้นวิธีสร้างกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (Reflecting Telescope) ในปีค.ศ. 1663 เจมส์ เกรกอรี (James Gregoy)นักคณิตศาสตร์ชาวสกอต ได้ออกแบบกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ในเวลานั้นเกรกอรีไม่สามารถหาช่างขัดกระจกที่มีความสามารถพอจะขัดกระจกโค้งตามแบบได้ จึงยังไม่มีการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขึ้นอย่างจริงจัง จนกระทั่ง เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ออกแบบและประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงของเขาขึ้นในปีค.ศ. 1668 และเสนอต่อราชบัณฑิตยสภาของอังกฤษในเดือนมกราคมปีค.ศ. 1672

หลักการทั่วไปของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง

กล้องแบบดั่งเดิมของนิวตันใช้กระจกโค้งที่ท้ายกล้อง สะท้อนแสงที่เข้าสู่กล้องให้มารวมกันที่จุดโฟกัสโดยกระจกโค้งที่ใช้รวมแสงนี้เรียกว่า กระจกปฐมภูมิ (Primary Mirror) จากนั้นแสงจะถูกสะท้อนออกจากแนวของกล้องด้วยกระจกทุติยภูมิ (Secondary Mirror)ซึ่งเป็นกระจกราบ เข้าสู่เลนส์ตาเพื่อขยายภาพให้สังเกตได้คล้ายกับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง กล้องในสมัยของนิวตัน ความโค้งของกระจกที่ใช้เป็นความโค้งแบบผิวทรงกลม (Spherical Curvature)ซึ่งจะประสบปัญหาความคลาดทรงกลม (Spherical Aberration) ทำให้ภาพของวัตถุที่เป็นวงกลมเห็นเป็นวงรี ในปัจจุบันปัญหานี้แก้วได้โดยการขัดกระจกให้โค้งเป็นรูปพาราโบลา (Parabolic Curvature) ซึ่งทำให้แสงทุกสีสะท้อนไปที่จุดโฟกัสที่จุดเดียวกัน กล้องสะท้อนแสงส่วนใหญ่จึงใช้กระจกที่มีพื้นที่ผิวรูปพาราโบลา

กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงสามารถสร้างให้มีขนาดใหญ่ในราคาที่ถูกว่ากล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงมา ปัจจุบันกล้องโทรทรรศน์ตามหอดูดาวขนาดใหญ่จะนิยมใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงทั้งสิ้น กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลกในปัจจุบันคือ กล้อง LBT (Large Binocular Telescope) ตั้งอยู่ที่ Mount Graham International Observatory ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นกล้องแบบสะท้อนแสงที่มีขนาดกระจกปฐมภูมิขนาด 11.8 เมตร นอกจากนี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) ก็เป็นกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงเช่นกัน การที่แสงไม่ต้องเดินทางผ่านชิ้นส่วนเลนส์ในกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง ทำให้มีข้อได้เปรียบกว่ากล้องโทรทรรศน์หักเหแสงอยู่สองประการ

  • กล้องจะไม่มีปัญหาความคลาดสีของชิ้นเลนส์
  • กล้องจะไม่ประสบปัญหาการดูดกลืนแสงในช่วงคลื่นต่างๆ ทำให้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงสามารถสังเกตวัตถุในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต

ข้อจำกัดของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง

ข้อเสียเปรียบของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง คือ การมีกระจกทุติยภูมิอยู่ภายในตัวกล้องละขวางทางเดินแสงบางส่วน ทำให้ภาพมืดลงเล็กน้อย ในกรณีที่กระจกทุติยภูมิมีขนาดใหญ่ (มีพื้นที่มากกว่าร้อยละ 20 ของหน้ากล้อง) ภาพที่สังเกตได้จะมืดลงอย่างเห็นได้ชัด หรือมีภาพกระจกทุติยภูมิเป็นจุดมัวให้เห็น นอกจากนี้การสะท้อนแสงในกล้องแต่ละครั้งทำให้สูญเสียความเข้มแสงไปพอสมควร เพราะกระจกทั่วไปมักจะสะท้อนแสงได้เพียงร้อยละ 85-90 ของแสงที่ตกกระทบเท่านั้น หรือสูญเสียแสงไปถึงร้อยละ 10-15 ทุกครั้งที่มีการสะท้อน หากมีการสะท้อนหลายครั้งก็จะยิ่งทำให้ภาพมืดลง

ปัญหาที่สำคัญของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง คือ ความคลาดเคลื่อนของการวางตัวของระบบกระจก (Optical Alignment) เนื่องจากกระบบกระจกของกล้องสะท้อนแสงต้องอยู่ในแนวเดียวกันอย่างเที่ยงตรงมาก หากคลาดเคลื่อนไปเพียงเล็กน้อยก็จะได้ภาพมัวลงอย่างชัดเจน ในการเคลื่อนย้ายกล้อง กระจกมักจะเคลื่อนไปเล็กน้อยเสมอ จึงต้องปรับเล็งใหม่บ่อยครั้ง การปรับเล็งกระจกให้วางต้วเรียงกันอย่างแม่นยำนี้เป็นกระบวนการที่ใช้เวลาพอสมควรสำหรับผู้เริ่มต้น แต่เมื่อทำจนชำนาญแล้วก็จะสามารถปรับได้อย่างรวดเร็ว

นอกจากกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบนิวตัน (Newtonian) ซึ่งผู้สังเกตมองจากด้านข้างกล้องแล้ว ยังมีกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงอื่นๆ เช่น แคสสิเกรน (Cassegrain) ริตเช-เครเตียง (Ritchey-Chertien) กูเด (Coude) แนสมิธ (Nasmyth)

การออกแบบกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบต่างๆ

นิวโตเนียน

ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Newtonian[4]

คาสเซเกรน

ไฟล์:Cassegrain.png
ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Cassegrain

ริตชีย์-เครเชี่ยน

ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Ritchey-Chertien

แนสมิธ

ส่วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบ Nasmyth


อ้างอิง

  1. http://www.garyseronik.com/?q=node/8 สือค้นวันที่ 28/3/2556
  2. King, Henry C (2003). ''The History of the Telescope'' By Henry C. King, Page 74. Google Books. ISBN 978-0-486-43265-6. สืบค้นเมื่อ 16 January 2010.
  3. Lifang Li, Andres Kecskemethy, A. F. M. Arif and Steven Dubowsky. Optimized Bands: A New Design Concept for Concentrating Solar Parabolic Mirrors. http://solarenergyengineering.asmedigitalcollection.asme.org
  4. http://www.garyseronik.com/?q=node/8 สือค้นวันที่ 28/3/2556
  • วิภู รุโจปการ. เอกภพเพื่อความเข้าใจในธรรมชาติของจักรวาล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั้นส์ จำกัด. 2546