พาราโบลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พาราโบลา คือ ภาคตัดกรวยที่เกิดจากการตัดกันระหว่างพื้นผิวกรวยด้วยระนาบที่ขนานกับเส้นกำเนิดกรวย (generating line) ของพื้นผิวนั้น พาราโบลาสามารถกำหนดเป็นด้วยจุดต่าง ๆ ที่มีระยะห่างจากจุดที่กำหนด คือ จุดโฟกัส (focus) และเส้นที่กำหนด คือ เส้นไดเรกตริกซ์ (directrix)[1]

พาราโบลาเป็นแนวคิดที่สำคัญในทฤษฎีคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ดี พาราโบลาสามารถพบได้บ่อยมากในโลกภายนอก และสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในวิศวกรรม ฟิสิกส์ และศาสตร์อื่น ๆ[1]

พาราโบลามีหลายรูปชนิด เช่นกรวยคว่ำกรวยหงาย บางทีตัดผ่าน 2 ช่อง บางทีตัดผ่าน 4 ช่อง แล้วแต่สมการที่มีการกำหนดมา ซึ่งจะเป็นชนิดใดก็ได้แต่ไม่สามารถเปนเส้นตรงๆได้เพราะจะไม่เรียกว่า พาราโบลา[1]

ประวัติ[แก้]

ส่วนประกอบของพาราโบลา[แก้]

Part of a parabola (blue), with various features (other colours). The complete parabola has no endpoints. In this orientation, it extends infinitely to the left, right, and upward.
  • เส้นคงที่ เรียกว่า ไดเรกตริกซ์ของพาราโบลา
  • จุดคงที่ (F) เรียกว่า โฟกัสของพาราโบลา
  • แกนสมมาตร คือเส้นตรงที่ลากผ่านโฟกัส และตั้งฉากกับไดเรกตริกซ์
  • จุดยอด (V) คือจุดยอดที่พาราโบลาตัดกับแกนของพาราโบลา
  • เลตัสเรกตัม (AB) คือส่วนของเส้นตรงที่ผ่านโฟกัส และมีจุดปลายทั้งสองอยู่บนพาราโบลา และตั้งฉากกับแกนของพาราโบลา

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 พาราโบลาเบื้องต้น

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

  • Lockwood, E. H. (1961). A Book of Curves. Cambridge University Press.[ไอเอสบีเอ็น ไม่มี]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]