ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บอลเชวิค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tvcccp ย้ายหน้า บอลเชวิก ไปยัง บอลเชวิค ทับหน้าเปลี่ยนทาง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Presidium of the 9th Congress of the Russian Communist Party (Bolsheviks).jpg|thumb|right|250px|การประชุมพรรคบอลเชวิก]]
[[ไฟล์:Presidium of the 9th Congress of the Russian Communist Party (Bolsheviks).jpg|thumb|right|250px|การประชุมพรรคบอลเชวิค]]


'''บอลเชวิก''' ({{lang-en|Bolshevik}} "บอลเชอวิก"; {{lang-ru|большеви́к}} "บาลชือวิก"<ref>{{cite web | url = http://dictionary.reference.com/browse/Bolshevik?s=t | title = Bolshevik | publisher = Dictionary.com | date = 30 May 2012}}</ref>) แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายใน[[พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย]] ({{lang-en|RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party}}) ซึ่งนิยม[[ลัทธิมากซ์]] กลุ่มนี้นำโดย[[เลนิน]]
'''บอลเชวิค''' ({{lang-en|Bolshevik}} {{lang-ru|большеви́к}}) แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิค หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายใน[[พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย]] ({{lang-en|RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party}}) ซึ่งนิยม[[ลัทธิมากซ์]] กลุ่มนี้นำโดย[[เลนิน]]


ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик [[เมนเชวิก]] ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย [[จูเลียส มาร์ตอฟ]] เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน
ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า [[เมนเชวิค]] (Menshevik) ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย (Меньшинство) แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย [[จูเลียส มาร์ตอฟ]] เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน


การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุง[[บรัสเซลส์]]และ[[ลอนดอน]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1903]] และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็น[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า [[ลัทธิบอลเชวิก]] (Bolshevism)
การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุง[[บรัสเซลส์]]และ[[ลอนดอน]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1903]] และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิคก็กลายมาเป็น[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] พวกบอลเชวิคมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า [[ลัทธิบอลเชวิค]] (Bolshevism)


== จุดเริ่มของการแตกคอ ==
== จุดเริ่มของการแตกคอ ==
การแตกคอกันของเลนินและมาร์ตอฟ มีขึ้นหลังจากที่เลนินเสนอว่าควรจำกัดสมาชิกพรรคให้เป็นเฉพาะนักปฏิวัติมืออาชีพเท่านั้นแต่มาร์ตอฟไม่เห็นด้วย เบื้องต้นกลุ่มของเลนินถูกเรียกว่า "กลุ่มแข็ง" ซึ่งหมายถึงมีท่าทีที่แข็งกร้าวในเรื่องนี้ ส่วนกลุ่มของมาร์ตอฟเรียกกันว่า "กลุ่มอ่อน" จากท่าทีที่อ่อนโอนมากกว่ากลุ่มของเลนิน แต่ต่อมาก็เรียกกันว่า บอลเชวิก และ เมนเชวิก เนื่องจากเลนินมีผู้สนับสนุนมากกว่าเล็กน้อย และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถหาเสียงสนับสนุนอย่างเด็ดขาดได้ ในที่สุดในการประชุมครั้งนั้นก็มีการแยกกันเป็น 2 กลุ่มชัดเจน เดือนเมษายน [[ค.ศ. 1905]] บอลเชวิกจัดการประชุมสมาชิกกลุ่มที่ลอนดอน โดยเรียกว่าการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 3 ด้านเมนเชวิคก็จัดการประชุมขึ้นโต้ตอบมาบ้างและนั่นก็เป็นการแบ่งแยกกลุ่มกันอย่างเป็นทางการ
การแตกคอกันของเลนินและมาร์ตอฟ มีขึ้นหลังจากที่เลนินเสนอว่าควรจำกัดสมาชิกพรรคให้เป็นเฉพาะนักปฏิวัติมืออาชีพเท่านั้นแต่มาร์ตอฟไม่เห็นด้วย เบื้องต้นกลุ่มของเลนินถูกเรียกว่า "กลุ่มแข็ง" ซึ่งหมายถึงมีท่าทีที่แข็งกร้าวในเรื่องนี้ ส่วนกลุ่มของมาร์ตอฟเรียกกันว่า "กลุ่มอ่อน" จากท่าทีที่อ่อนโอนมากกว่ากลุ่มของเลนิน แต่ต่อมาก็เรียกกันว่า บอลเชวิค และ เมนเชวิก เนื่องจากเลนินมีผู้สนับสนุนมากกว่าเล็กน้อย และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถหาเสียงสนับสนุนอย่างเด็ดขาดได้ ในที่สุดในการประชุมครั้งนั้นก็มีการแยกกันเป็น 2 กลุ่มชัดเจน เดือนเมษายน [[ค.ศ. 1905]] บอลเชวิคจัดการประชุมสมาชิกกลุ่มที่ลอนดอน โดยเรียกว่าการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 3 ด้านเมนเชวิคก็จัดการประชุมขึ้นโต้ตอบมาบ้างและนั่นก็เป็นการแบ่งแยกกลุ่มกันอย่างเป็นทางการ


== การตั้งพรรคใหม่ ==
== การตั้งพรรคใหม่ ==
หลังการปฏิวัติรัสเซีย ปี [[ค.ศ. 1905]] [[พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย]]ได้เข้ามามีบทบาททางการเมืองในรัฐสภารัสเซีย และทั้งสองกลุ่มในพรรคมีความพยายามที่จะกลับมารวมกลุ่มกันหลายครั้งแต่ไม่สำเร็จและได้แยกตัวกันอย่างถาวรในเดือนมกราคม [[ค.ศ. 1912]] เมื่อบอลเชวิกจัดการประชุมใหญ่เฉพาะกลุ่มที่[[กรุงปราก]] และประกาศขับเมนเชวิคออกจากพรรค การแบ่งเป็นกลุ่มภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียจึงไม่มีอีกต่อไปและพวกบอลเชวิกก็ประกาศตัวเป็นพรรคอิสระ ที่มีชื่อว่าพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (บอลเชวิก)
หลังการปฏิวัติรัสเซีย ปี [[ค.ศ. 1905]] [[พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย]]ได้เข้ามามีบทบาททางการเมืองในรัฐสภารัสเซีย และทั้งสองกลุ่มในพรรคมีความพยายามที่จะกลับมารวมกลุ่มกันหลายครั้งแต่ไม่สำเร็จและได้แยกตัวกันอย่างถาวรในเดือนมกราคม [[ค.ศ. 1912]] เมื่อบอลเชวิคจัดการประชุมใหญ่เฉพาะกลุ่มที่[[กรุงปราก]] และประกาศขับเมนเชวิคออกจากพรรค การแบ่งเป็นกลุ่มภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียจึงไม่มีอีกต่อไปและพวกบอลเชวิคก็ประกาศตัวเป็นพรรคอิสระ ที่มีชื่อว่าพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (บอลเชวิค)


พลพรรคบอลเชวิกภายใต้การนำของเลนิน ได้นำกำลังเข้ายึดอำนาจการปกครองในรัสเซียระหว่างการปฏิวัติเดือนตุลาคม [[ค.ศ. 1917]] สถาปนารัสเซียเป็นประเทศสังคมนิยมประเทศแรกของโลกและต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น[[สหภาพโซเวียต]] เดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1918]] ในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 7 ของพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (บอลเชวิก) มีมติเปลี่ยนชื่อพรรคเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งรัสเซีย (บอลเชวิก) เพื่อให้แตกต่างชัดเจนจากพรรคอดีตกลุ่มในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียที่ยังเหลืออยู่ หลังการเปลี่ยนชื่อพรรคก็ถูกเรียกติดปากแค่พรรคคอมมิวนิสต์และต่อมาเมื่อประเทศกลายมาเป็น[[สหภาพโซเวียต]] และพรรคไม่ได้ครอบคลุมเฉพาะคนรัสเซียเท่านั้น ในการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 19 ปี [[ค.ศ. 1952]] พรรคจึงเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและใช้ต่อมาจนสหภาพโซเวียตล่มสลาย
พลพรรคบอลเชวิคภายใต้การนำของเลนิน ได้นำกำลังเข้ายึดอำนาจการปกครองในรัสเซียระหว่างการปฏิวัติเดือนตุลาคม [[ค.ศ. 1917]] สถาปนารัสเซียเป็นประเทศสังคมนิยมประเทศแรกของโลกและต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น[[สหภาพโซเวียต]] เดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1918]] ในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 7 ของพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (บอลเชวิค) มีมติเปลี่ยนชื่อพรรคเป็นพรรคคอมมิวนิสต์รัสเซีย (บอลเชวิค) เพื่อให้แตกต่างชัดเจนจากพรรคอดีตกลุ่มในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียที่ยังเหลืออยู่ หลังการเปลี่ยนชื่อพรรคก็ถูกเรียกติดปากแค่พรรคคอมมิวนิสต์และต่อมาเมื่อประเทศกลายมาเป็น[[สหภาพโซเวียต]] และพรรคไม่ได้ครอบคลุมเฉพาะคนรัสเซียเท่านั้น ดั้งนั้นใน ค.ศ. 1925 จึงเปลี่ยนชื่อพรรคอีกครั้งเป็นพรรคคอมมิวนิสต์มวลสหภาพ (บอลเชวิค) ({{lang-en|All-Union Communist Party (Bolsheviks)}} {{lang-ru|Всесоюзная коммунистическая партия (большевиков)}}) จนในการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 19 ปี [[ค.ศ. 1952]] พรรคจึงเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]]และใช้ต่อมาจนสหภาพโซเวียตล่มสลาย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
[[หมวดหมู่:พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]]
[[หมวดหมู่:พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์รัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์รัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:บอลเชวิก| ]]
[[หมวดหมู่:บอลเชวิค| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:54, 11 พฤศจิกายน 2561

การประชุมพรรคบอลเชวิค

บอลเชวิค (อังกฤษ: Bolshevik รัสเซีย: большеви́к) แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิค หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (อังกฤษ: RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน

ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า เมนเชวิค (Menshevik) ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย (Меньшинство) แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน

การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิคก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิคมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิค (Bolshevism)

จุดเริ่มของการแตกคอ

การแตกคอกันของเลนินและมาร์ตอฟ มีขึ้นหลังจากที่เลนินเสนอว่าควรจำกัดสมาชิกพรรคให้เป็นเฉพาะนักปฏิวัติมืออาชีพเท่านั้นแต่มาร์ตอฟไม่เห็นด้วย เบื้องต้นกลุ่มของเลนินถูกเรียกว่า "กลุ่มแข็ง" ซึ่งหมายถึงมีท่าทีที่แข็งกร้าวในเรื่องนี้ ส่วนกลุ่มของมาร์ตอฟเรียกกันว่า "กลุ่มอ่อน" จากท่าทีที่อ่อนโอนมากกว่ากลุ่มของเลนิน แต่ต่อมาก็เรียกกันว่า บอลเชวิค และ เมนเชวิก เนื่องจากเลนินมีผู้สนับสนุนมากกว่าเล็กน้อย และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถหาเสียงสนับสนุนอย่างเด็ดขาดได้ ในที่สุดในการประชุมครั้งนั้นก็มีการแยกกันเป็น 2 กลุ่มชัดเจน เดือนเมษายน ค.ศ. 1905 บอลเชวิคจัดการประชุมสมาชิกกลุ่มที่ลอนดอน โดยเรียกว่าการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 3 ด้านเมนเชวิคก็จัดการประชุมขึ้นโต้ตอบมาบ้างและนั่นก็เป็นการแบ่งแยกกลุ่มกันอย่างเป็นทางการ

การตั้งพรรคใหม่

หลังการปฏิวัติรัสเซีย ปี ค.ศ. 1905 พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียได้เข้ามามีบทบาททางการเมืองในรัฐสภารัสเซีย และทั้งสองกลุ่มในพรรคมีความพยายามที่จะกลับมารวมกลุ่มกันหลายครั้งแต่ไม่สำเร็จและได้แยกตัวกันอย่างถาวรในเดือนมกราคม ค.ศ. 1912 เมื่อบอลเชวิคจัดการประชุมใหญ่เฉพาะกลุ่มที่กรุงปราก และประกาศขับเมนเชวิคออกจากพรรค การแบ่งเป็นกลุ่มภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียจึงไม่มีอีกต่อไปและพวกบอลเชวิคก็ประกาศตัวเป็นพรรคอิสระ ที่มีชื่อว่าพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (บอลเชวิค)

พลพรรคบอลเชวิคภายใต้การนำของเลนิน ได้นำกำลังเข้ายึดอำนาจการปกครองในรัสเซียระหว่างการปฏิวัติเดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 สถาปนารัสเซียเป็นประเทศสังคมนิยมประเทศแรกของโลกและต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโซเวียต เดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 ในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 7 ของพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (บอลเชวิค) มีมติเปลี่ยนชื่อพรรคเป็นพรรคคอมมิวนิสต์รัสเซีย (บอลเชวิค) เพื่อให้แตกต่างชัดเจนจากพรรคอดีตกลุ่มในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียที่ยังเหลืออยู่ หลังการเปลี่ยนชื่อพรรคก็ถูกเรียกติดปากแค่พรรคคอมมิวนิสต์และต่อมาเมื่อประเทศกลายมาเป็นสหภาพโซเวียต และพรรคไม่ได้ครอบคลุมเฉพาะคนรัสเซียเท่านั้น ดั้งนั้นใน ค.ศ. 1925 จึงเปลี่ยนชื่อพรรคอีกครั้งเป็นพรรคคอมมิวนิสต์มวลสหภาพ (บอลเชวิค) (อังกฤษ: All-Union Communist Party (Bolsheviks) รัสเซีย: Всесоюзная коммунистическая партия (большевиков)) จนในการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 19 ปี ค.ศ. 1952 พรรคจึงเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและใช้ต่อมาจนสหภาพโซเวียตล่มสลาย

อ้างอิง