ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บลูทูธ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7208790 สร้างโดย 113.210.206.242 (พูดคุย)
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
โดยหลัก ของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากใช้การขนส่งข้อมูลในจำนวนที่ไม่มาก อย่างเช่น ไฟล์ภาพ, เสียง, แอปพลิเคชันต่างๆ และสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย ขอให้อยู่ในระยะที่กำหนดไว้เท่านั้น (ประมาณ 5-100 เมตร) นอกจากนี้ยังใช้พลังงานต่ำ กินไฟน้อย และสามารถใช้งานได้นาน โดยไม่ต้องนำไปชาร์จไฟบ่อยๆ ด้วย
โดยหลัก ของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากใช้การขนส่งข้อมูลในจำนวนที่ไม่มาก อย่างเช่น ไฟล์ภาพ, เสียง, แอปพลิเคชันต่างๆ และสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย ขอให้อยู่ในระยะที่กำหนดไว้เท่านั้น (ประมาณ 5-100 เมตร) นอกจากนี้ยังใช้พลังงานต่ำ กินไฟน้อย และสามารถใช้งานได้นาน โดยไม่ต้องนำไปชาร์จไฟบ่อยๆ ด้วย
=== ระยะทำการ ===
=== ระยะทำการ ===
[[คิมเบอร์ลี แอน เทียมศิริ|ค]]วามสามารถในการส่งข้อมูลของบลูทูธนั้นขึ้นกับแต่ละ class ที่ใช้ ซึ่งมี 3 class ดังนี้
ความสามารถในการส่งข้อมูลของบลูทูธนั้นขึ้นกับแต่ละ class ที่ใช้ ซึ่งมี 3 class ดังนี้
* Class 1 กำลังส่ง 100 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 100 เมตร
* Class 1 กำลังส่ง 100 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 100 เมตร
* Class 2 กำลังส่ง 2.5 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 10 เมตร
* Class 2 กำลังส่ง 2.5 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 10 เมตร
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
* Bluetooth 2.1 [[EDR]]
* Bluetooth 2.1 [[EDR]]
* Bluetooth 3.0
* Bluetooth 3.0
* Bluetooth 4.0
*
* Bluetooth 4.1
* Bluetooth 4.1
** ระบบ [[EDR]] : Enhanced Data Rate เพิ่มความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดเป็น 3 [[Mbps]].
** ระบบ [[EDR]] : Enhanced Data Rate เพิ่มความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดเป็น 3 [[Mbps]].
บรรทัด 30: บรรทัด 30:


== EDR ==
== EDR ==
EDR (Enhanced Data Rate) คือ ระบบ[[อิเล็กทรอนิกส์]]หรือ[[คอมพิวเตอร์]]ที่ได้รับการปรับปรุงให้สามารถสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายได้เร็วขึ้น ทั้งนี้พัฒนาจากรุ่น 1.1 ที่ส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็ว 1 เมกะ[[บิต]]ต่อ[[วินาที]] จนถึงรุ่น 1.2 ที่ปรับปรุงสัญญาณและคลื่นความถี่
EDR (Enhanced Data Rate) คือ ระบบ[[อิเล็กทรอนิกส์]]หรือ[[คอมพิวเตอร์]]ที่ได้รับการปรับปรุงให้สามารถสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายได้เร็วขึ้น ทั้งนี้พัฒนาจากรุ่น 1.1 ที่ส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็ว 1 เมกะ[[บิต]]ต่อ[[วินาที]] จนถึงรุ่น 1.2 ที่ปรับปรุงสัญญาณและคลื่นความถี่ '''บลูทูท''' 2.0+ EDR ส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็ว 3 เมกะบิตต่อวินาที

ลด้วยอัตราความเร็ว 3 เมกะบิตต่อวินาที


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 41: บรรทัด 39:
[[หมวดหมู่:มาตรฐานเครือข่าย]]
[[หมวดหมู่:มาตรฐานเครือข่าย]]
[[หมวดหมู่:การสื่อสารไร้สาย]]
[[หมวดหมู่:การสื่อสารไร้สาย]]
[[หมวดหมู่:Channel access methods]]
[[หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่]]
[[หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่]]
[[หมวดหมู่:ผลิตภัณฑ์ที่ออกในปี พ.ศ. 2537]]
[[หมวดหมู่:ผลิตภัณฑ์ที่ออกในปี พ.ศ. 2537]]
__ไม่มีแก้เฉพาะส่วน__
__DISAMBIG__
__INDEX__
__NEWSECTIONLINK__

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:33, 12 กันยายน 2560

บลูทูท (Bluetooth) เป็นข้อกำหนดสำหรับอุตสาหกรรมเครือข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Networks - PAN) แบบไร้สาย บลูทูธช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมต่อกันได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ พีดีเอ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยผ่านทางคลื่นวิทยุ

ที่มาของชื่อบลูทูธนั้นนำมาจากพระนามพระเจ้าฮาราลด์ บลูทูท (King Harald Bluetooth) ของประเทศเดนมาร์ก เพื่อเป็นการรำลึกถึงกษัตริย์ Bluetooth ผู้ปกครองประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวีย ซึ่งในปัจจุบันเป็นกลุ่มผู้นำในด้านการผลิตโทรศัพท์มือถือป้อนสู่ตลาดโลก และระบบ Bluetooth นี้ ก็ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้กับโทรศัพท์มือถือ และเริ่มต้นจากประเทศในแถบนี้ด้วยเช่นกั

รายละเอียดทางเทคนิค

Bluetooth จะใช้สัญญาณวิทยุความถี่สูง 2.4 GHz. (จิกะเฮิร์ซ) แต่จะแยกย่อยออกไป ตามแต่ละประเทศ อย่างในแถบยุโรปและอเมริกา จะใช้ช่วง 2.400 ถึง 2.4835 GHz. แบ่งออกเป็น 79 ช่องสัญญาณ และจะใช้ช่องสัญญาณที่แบ่งนี้ เพื่อส่งข้อมูลสลับช่องไปมา 1,600 ครั้งต่อ 1 วินาที ส่วนที่ญี่ปุ่นจะใช้ความถี่ 2.402 ถึง 2.480 GHz. แบ่งออกเป็น 23 ช่อง ระยะทำการของ Bluetooth จะอยู่ที่ 5-100 เมตร โดยมีระบบป้องกันโดยใช้การป้อนรหัสก่อนการเชื่อมต่อ และ ป้องกันการดักสัญญาณระหว่างสื่อสาร โดยระบบจะสลับช่องสัญญาณไปมา จะมีความสามารถในการเลือกเปลี่ยนความถี่ที่ใช้ในการติดต่อเองอัตโนมัติ โดยที่ไม่จำเป็นต้องเรียงตามหมายเลขช่อง ทำให้การดักฟังหรือลักลอบขโมยข้อมูลทำได้ยากขึ้น โดยหลัก ของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากใช้การขนส่งข้อมูลในจำนวนที่ไม่มาก อย่างเช่น ไฟล์ภาพ, เสียง, แอปพลิเคชันต่างๆ และสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย ขอให้อยู่ในระยะที่กำหนดไว้เท่านั้น (ประมาณ 5-100 เมตร) นอกจากนี้ยังใช้พลังงานต่ำ กินไฟน้อย และสามารถใช้งานได้นาน โดยไม่ต้องนำไปชาร์จไฟบ่อยๆ ด้วย

ระยะทำการ

ความสามารถในการส่งข้อมูลของบลูทูธนั้นขึ้นกับแต่ละ class ที่ใช้ ซึ่งมี 3 class ดังนี้

  • Class 1 กำลังส่ง 100 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 100 เมตร
  • Class 2 กำลังส่ง 2.5 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 10 เมตร
  • Class 3 กำลังส่ง 1 มิลลิวัตต์ ระยะประมาณ 1 เมตร

รุ่น

ปัจจุบันข้อกำหนด Bluetooth ออกมาแล้ว 5 รุ่น

  • Bluetooth 1.0
  • Bluetooth 1.1
  • Bluetooth 1.2 z
  • Bluetooth 2.0
  • Bluetooth 2.0 EDR
  • Bluetooth 2.1 EDR
  • Bluetooth 3.0
  • Bluetooth 4.0
  • Bluetooth 4.1
    • ระบบ EDR : Enhanced Data Rate เพิ่มความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดเป็น 3 Mbps.

โปรไฟล์

  • HFP
  • AVRCP ย่อมาจาก Audio/Video Remote Control Profile

EDR

EDR (Enhanced Data Rate) คือ ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการปรับปรุงให้สามารถสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายได้เร็วขึ้น ทั้งนี้พัฒนาจากรุ่น 1.1 ที่ส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็ว 1 เมกะบิตต่อวินาที จนถึงรุ่น 1.2 ที่ปรับปรุงสัญญาณและคลื่นความถี่ บลูทูท 2.0+ EDR ส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็ว 3 เมกะบิตต่อวินาที

อ้างอิง