ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซโทพลาซึม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
(12) ไลโซโซม<br/>
(12) ไลโซโซม<br/>
(13) เซนทริโอล]]
(13) เซนทริโอล]]
'''ไซโทพลาซีม''' (cytoplasm) คือส่วนประกอบของเซลล์ที่อยู่ภายใต้[[เยื่อหุ้มเซลล์]] แต่อยู่นอก[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]] หรือเรียกได้ว่า ไซโทพลาซึมเป็นส่วนของ[[โพรโทพลาสซึม]]ที่อยู่นอก[[นิวเคลียส]] ไซโทพลาซึมประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นโครงสร้างย่อย ๆ ภายในเซลล์ เรียกว่า'''[[ออร์แกเนลล์]]''' (organelle) และส่วนที่เป็นของกึ่งเหลว เรียกว่า'''[[ไซโทซอล]]''' (cytosol) องค์ประกอบประมาณ 80% ของไซโทพลาซึมเป็นน้ำ และมักปราศจากสี
'''ไซโทพลาซีม''' (cytoplasm) คือส่วนประกอบของเซลล์ที่อยู่ภายใต้[[เยื่อหุ้มเซลล์]] แต่อยู่นอก[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]] หรือเรียกได้ว่า ไซโทพลาซึมเป็นส่วนของ[[โพรโทพลาสซึม]]ที่อยู่นอก[[นิวเคลียส]] ไซโทพลาซึมประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นโครงสร้างย่อย ๆ ภายในเซลล์ เรียกว่า'''[[ออร์แกเนลล์]]''' (organelle) และส่วนที่เป็นของกึ่งเหลว เรียกว่า'''[[ไซโทซอล]]''' (cytosol) องค์ประกอบประมาณ 80% ของไซโทพลาซึมเป็นน้ำ และมักไม่มีสี ในเซลล์[[โพรแคริโอต]] (ซึ่งไม่มีนิวเคลียส) เนื้อในของเซลล์ทั้งหมดจะอยู่ในไซโทพลาซึม สำหรับเซลล์[[ยูแคริโอต]] องค์ประกอบภายในนิวเคลียสจะแยกออกจากไซโทพลาซึม และมีชื่อเรียกแยกว่า [[นิวคลิโอพลาซึม|'''นิวคลิโอพลาซึม''']]

ในเซลล์[[โพรแคริโอต]] (ซึ่งไม่มีนิวเคลียส) เนื้อในของเซลล์ทั้งหมดจะอยู่ในไซโทพลาซึม สำหรับเซลล์[[ยูแคริโอต]] องค์ประกอบภายในนิวเคลียสจะแยกออกจากไซโทพลาซึม และเรียกแยกว่า [[นิวคลิโอพลาซึม|'''นิวคลิโอพลาซึม''']] ไซโทพลาซึมจะหมายถึงส่วนประกอบภายในเซลล์ทั้งหมดที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์กับ[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]]


กิจกรรมต่างๆ ในระดับเซลล์มักเกิดขึ้นในไซโทพลาซึม เช่น [[ไกลโคไลซิส]] และ[[การแบ่งเซลล์]] บริเวณเนื้อด้านในๆ ของไซโทพลาซึมเรียกว่า '''เอนโดพลาซึม''' (endoplasm) ส่วนเนื้อด้านนอกของไซโทพลาซึมที่อยู่ถัดจากเยื้อหุ้มเซลล์ลงมา เรียกว่า '''เอกโตพลาซึม''' หรือ เซลล์คอร์เทกซ์ (cell cortex) ในเซลล์ของพืช จะมีการไหลเวียนของไซโทพลาซึมภายในเซลล์เพื่อลำเลียงสารจากบริเวณหนึ่งของเซลล์ไปยังอีกบริเวณหนึ่ง เรียกการไหลเวียนนี้ว่า '''ไซโทพลาสมิก สตรีมมิ่ง''' (cytoplasmic streaming) หรือ '''ไซโคลซิส''' (cyclosis)
กิจกรรมต่างๆ ในระดับเซลล์มักเกิดขึ้นในไซโทพลาซึม เช่น [[ไกลโคไลซิส]] และ[[การแบ่งเซลล์]] บริเวณเนื้อด้านในๆ ของไซโทพลาซึมเรียกว่า '''เอนโดพลาซึม''' (endoplasm) ส่วนเนื้อด้านนอกของไซโทพลาซึมที่อยู่ถัดจากเยื้อหุ้มเซลล์ลงมา เรียกว่า '''เอกโตพลาซึม''' หรือ เซลล์คอร์เทกซ์ (cell cortex) ในเซลล์ของพืช จะมีการไหลเวียนของไซโทพลาซึมภายในเซลล์เพื่อลำเลียงสารจากบริเวณหนึ่งของเซลล์ไปยังอีกบริเวณหนึ่ง เรียกการไหลเวียนนี้ว่า '''ไซโทพลาสมิก สตรีมมิ่ง''' (cytoplasmic streaming) หรือ '''ไซโคลซิส''' (cyclosis)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:27, 3 มิถุนายน 2560

ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ดังนี้
(1) นิวคลีโอลัส
(2) นิวเคลียส
(3) ไรโบโซม
(4) เวสิเคิล
(5) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ
(6) กอลไจแอปพาราตัส
(7) ไซโทสเกลเลตอน
(8) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ
(9) ไมโทคอนเดรีย
(10) แวคิวโอล
(11) ไซโทพลาซึม
(12) ไลโซโซม
(13) เซนทริโอล

ไซโทพลาซีม (cytoplasm) คือส่วนประกอบของเซลล์ที่อยู่ภายใต้เยื่อหุ้มเซลล์ แต่อยู่นอกนิวเคลียส หรือเรียกได้ว่า ไซโทพลาซึมเป็นส่วนของโพรโทพลาสซึมที่อยู่นอกนิวเคลียส ไซโทพลาซึมประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นโครงสร้างย่อย ๆ ภายในเซลล์ เรียกว่าออร์แกเนลล์ (organelle) และส่วนที่เป็นของกึ่งเหลว เรียกว่าไซโทซอล (cytosol) องค์ประกอบประมาณ 80% ของไซโทพลาซึมเป็นน้ำ และมักไม่มีสี ในเซลล์โพรแคริโอต (ซึ่งไม่มีนิวเคลียส) เนื้อในของเซลล์ทั้งหมดจะอยู่ในไซโทพลาซึม สำหรับเซลล์ยูแคริโอต องค์ประกอบภายในนิวเคลียสจะแยกออกจากไซโทพลาซึม และมีชื่อเรียกแยกว่า นิวคลิโอพลาซึม

กิจกรรมต่างๆ ในระดับเซลล์มักเกิดขึ้นในไซโทพลาซึม เช่น ไกลโคไลซิส และการแบ่งเซลล์ บริเวณเนื้อด้านในๆ ของไซโทพลาซึมเรียกว่า เอนโดพลาซึม (endoplasm) ส่วนเนื้อด้านนอกของไซโทพลาซึมที่อยู่ถัดจากเยื้อหุ้มเซลล์ลงมา เรียกว่า เอกโตพลาซึม หรือ เซลล์คอร์เทกซ์ (cell cortex) ในเซลล์ของพืช จะมีการไหลเวียนของไซโทพลาซึมภายในเซลล์เพื่อลำเลียงสารจากบริเวณหนึ่งของเซลล์ไปยังอีกบริเวณหนึ่ง เรียกการไหลเวียนนี้ว่า ไซโทพลาสมิก สตรีมมิ่ง (cytoplasmic streaming) หรือ ไซโคลซิส (cyclosis)

หน้าที่ของไซโทพลาสซึม

   • เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมีของเซลล์ 

   • สลายวัตถุดิบเพื่อให้ได้พลังงานและสิ่งที่จำเป็นสำหรับเซลล์ 

   • สังเคราะห์สารที่จำเป็นสำหรับเซลล์

   • เป็นที่เก็บสะสมวัตถุดิบสำหรับเซลล์ 

   • เกี่ยวข้องกับกระบวนการขับถ่ายของเสียของเซลล์