ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซิตตเว"

พิกัด: 20°09′00″N 92°54′00″E / 20.15000°N 92.90000°E / 20.15000; 92.90000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
'''ซิตตเว'''<ref>สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. ''ชื่อบ้านนามเมือง''. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2559</ref> ({{lang-my|စစ်တွေမြို့}}) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลาง[[ชะวากทะเล]]ของปาก[[แม่น้ำกะลาดาน]] [[แม่น้ำมายู|มายู]] และ[[แม่น้ำเล-มโย|เล-มโย]] โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่[[อ่าวเบงกอล]]ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557)<ref>Central Census Committee, Myanmar. [http://www.geohive.com/cntry/myanmar.aspx Main cities]. geohive.com. (เข้าถึงเมื่อ: 9 พฤศจิกายน 2559).</ref> เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว
'''ซิตตเว'''<ref>สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. ''ชื่อบ้านนามเมือง''. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2559</ref> ({{lang-my|စစ်တွေမြို့}}) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลาง[[ชะวากทะเล]]ของปาก[[แม่น้ำกะลาดาน]] [[แม่น้ำมายู|มายู]] และ[[แม่น้ำเล-มโย|เล-มโย]] โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่[[อ่าวเบงกอล]]ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557)<ref>Central Census Committee, Myanmar. [http://www.geohive.com/cntry/myanmar.aspx Main cities]. geohive.com. (เข้าถึงเมื่อ: 9 พฤศจิกายน 2559).</ref> เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว


กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือ[[ชาวยะไข่]] รองลงมาคือ[[ชาวพม่า]]ซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]][[นิกายเถรวาท]] [[ศาสนาฮินดู|ฮินดู]] และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาว[[โรฮีนจา]]ซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ทำให้ชาวโรฮีนจาต้องหนีไปอาศัยอยู่ในค่ายผู้อพยพในพื้นที่ใกล้เคียง<ref>{{cite magazine |title=Unforgiving history |url=http://www.economist.com/news/asia/21565638-why-buddhists-and-muslims-rakhine-state-myanmar-are-each-others%E2%80%99-throats-unforgiving |magazine=The Economist |date=3 พฤศจิกายน 2552}}</ref> และไม่ได้มีการบันทึกจำนวนประชากรที่แน่นอน แต่ประมาณกันว่ามีประมาณ 140,000 คน<ref>{{cite news|last1=Fuller|first1=Thomas|title=Myanmar to Bar Rohingya From Fleeing, but Won't Address Their Plight|url=http://www.nytimes.com/2015/06/13/world/asia/myanmar-to-bar-rohingya-from-fleeing-but-wont-address-their-plight.html?partner=rss&emc=rss&smid=fb-nytimes&bicmst=1409232722000&bicmet=1419773522000&smtyp=aut&bicmp=AD&bicmlukp=WT.mc_id&_r=0|accessdate=12 June 2015|agency=New York Times|date=12 June 2015}}</ref> เนื่องจากรัฐบาลพม่าไม่อนุญาตให้ลงทะเบียนชาวโรฮีนจาในสำมะโนประชากรและปฏิเสธที่จะเรียกชนกลุ่มนี้ด้วยชื่อใด ๆ
กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือ[[ชาวยะไข่]] รองลงมาคือ[[ชาวพม่า]]ซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]][[นิกายเถรวาท]] [[ศาสนาฮินดู|ฮินดู]] และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาว[[โรฮีนจา]]ซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ทำให้ชาวโรฮีนจาต้องหนีไปอาศัยอยู่ในค่ายผู้อพยพในพื้นที่ใกล้เคียง<ref>{{cite magazine |title=Unforgiving history |url=http://www.economist.com/news/asia/21565638-why-buddhists-and-muslims-rakhine-state-myanmar-are-each-others%E2%80%99-throats-unforgiving |magazine=The Economist |date=3 พฤศจิกายน 2552}}</ref> และไม่ได้มีการบันทึกจำนวนประชากรที่แน่นอน แต่คาดการณ์ว่ามีราว 140,000 คน<ref>{{cite news|last1=Fuller|first1=Thomas|title=Myanmar to Bar Rohingya From Fleeing, but Won't Address Their Plight|url=http://www.nytimes.com/2015/06/13/world/asia/myanmar-to-bar-rohingya-from-fleeing-but-wont-address-their-plight.html?partner=rss&emc=rss&smid=fb-nytimes&bicmst=1409232722000&bicmet=1419773522000&smtyp=aut&bicmp=AD&bicmlukp=WT.mc_id&_r=0|accessdate=12 June 2015|agency=New York Times|date=12 June 2015}}</ref> เนื่องจากรัฐบาลพม่าไม่อนุญาตให้ลงทะเบียนชาวโรฮีนจาในสำมะโนประชากรและปฏิเสธที่จะเรียกชนกลุ่มนี้ด้วยชื่อใด ๆ


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:37, 13 กุมภาพันธ์ 2560

ซิตตเว

စစ်တွေမြို့
ถนนหลักสายหนึ่งในซิตตเว
ถนนหลักสายหนึ่งในซิตตเว
ซิตตเวตั้งอยู่ในประเทศพม่า
ซิตตเว
ซิตตเว
แผนที่พม่าแสดงตำแหน่งเมือง
พิกัด: 20°09′00″N 92°54′00″E / 20.15000°N 92.90000°E / 20.15000; 92.90000
ประเทศ พม่า
รัฐรัฐยะไข่
อำเภออำเภอซิตตเว
ตำบลตำบลซิตตเว
ประชากร
 (2557)
147,899 คน
 • ชาติพันธุ์ยะไข่, พม่า, Kaman, Maramagyi, ฮินดู, โรฮีนจา, เบงกาลี และอื่น ๆ
 • ศาสนาพุทธ, อิสลาม
เขตเวลาUTC+6.30 (MMT)
รหัสพื้นที่42, 43[1]

ซิตตเว[2] (พม่า: စစ်တွေမြို့) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลางชะวากทะเลของปากแม่น้ำกะลาดาน มายู และเล-มโย โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่อ่าวเบงกอลซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557)[3] เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว

กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือชาวยะไข่ รองลงมาคือชาวพม่าซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ฮินดู และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาวโรฮีนจาซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ทำให้ชาวโรฮีนจาต้องหนีไปอาศัยอยู่ในค่ายผู้อพยพในพื้นที่ใกล้เคียง[4] และไม่ได้มีการบันทึกจำนวนประชากรที่แน่นอน แต่คาดการณ์ว่ามีราว 140,000 คน[5] เนื่องจากรัฐบาลพม่าไม่อนุญาตให้ลงทะเบียนชาวโรฮีนจาในสำมะโนประชากรและปฏิเสธที่จะเรียกชนกลุ่มนี้ด้วยชื่อใด ๆ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "National Telephone Area Codes". Myanmar Yellow Pages.
  2. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. ชื่อบ้านนามเมือง. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2559
  3. Central Census Committee, Myanmar. Main cities. geohive.com. (เข้าถึงเมื่อ: 9 พฤศจิกายน 2559).
  4. "Unforgiving history". The Economist. 3 พฤศจิกายน 2552.
  5. Fuller, Thomas (12 June 2015). "Myanmar to Bar Rohingya From Fleeing, but Won't Address Their Plight". New York Times. สืบค้นเมื่อ 12 June 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ซิตตเว
  • คู่มือการท่องเที่ยว ซิตตเว จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)