ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลอดเลือดแดง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
}}
}}


'''หลอดเลือดแดง''' (Artery) เป็น[[หลอดเลือด]]ที่มีชั้น[[กล้ามเนื้อ]] ทำหน้าที่ขนส่ง[[เลือด]]ออกจาก[[หัวใจ]] หลอดเลือดแดงทุกเส้นขนส่งเลือดที่มี[[ออกซิเจน]] ยกเว้น[[หลอดเลือดแดงพัลโมนารี]] (pulmonary artery) และ[[หลอดเลือดแดงอัมบิลิคัล]] (umbilical artery)
'''หลอดเลือดแดง''' (Artery) เป็น[[หลอดเลือด]]ที่มีชั้น[[กล้ามเนื้อ]] ทำหน้าที่ขนส่ง[[เลือด]]ออกจาก[[หัวใจ]] หลอดเลือดแดงทุกเส้นขนส่งเลือดที่มี[[ออกซิเจน]] ยกเว้น[[หลอดเลือดแดงสู่ปอด]] (pulmonary artery) และ[[หลอดเลือดแดงอัมบิลิคัล]] (umbilical artery)


[[ระบบไหลเวียนโลหิต]]เป็นระบบที่สำคัญมากในการดำรง[[ชีวิต]] หน้าที่โดยทั่วไปของระบบนี้คือการขนส่งออกซิเจนและ[[สารอาหาร]]ไปยังเซลล์ต่างๆ รวมทั้งขนส่ง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]และของเสียออกจากเนื้อเยื่อ รักษา [[ค่า pH|pH]] ให้เหมาะกับการดำรงชีวิต รวมถึงการขนส่งสาร โปรตีนอาทิ[[ฮีโมโกลบิน]] และเซลล์ใน[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]
[[ระบบไหลเวียนโลหิต]]เป็นระบบที่สำคัญมากในการดำรง[[ชีวิต]] หน้าที่โดยทั่วไปของระบบนี้คือการขนส่งออกซิเจนและ[[สารอาหาร]]ไปยังเซลล์ต่างๆ รวมทั้งขนส่ง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]และของเสียออกจากเนื้อเยื่อ รักษา [[ค่า pH|pH]] ให้เหมาะกับการดำรงชีวิต รวมถึงการขนส่งสาร โปรตีนอาทิ[[ฮีโมโกลบิน]] และเซลล์ใน[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:05, 3 กรกฎาคม 2559

หลอดเลือดแดง
ภาพแสดงหลอดเลือดแดง
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษาละตินArteria (plural: arteriae)
MeSHD001158
TA98A12.0.00.003
A12.2.00.001
TA23896
FMA50720
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

หลอดเลือดแดง (Artery) เป็นหลอดเลือดที่มีชั้นกล้ามเนื้อ ทำหน้าที่ขนส่งเลือดออกจากหัวใจ หลอดเลือดแดงทุกเส้นขนส่งเลือดที่มีออกซิเจน ยกเว้นหลอดเลือดแดงสู่ปอด (pulmonary artery) และหลอดเลือดแดงอัมบิลิคัล (umbilical artery)

ระบบไหลเวียนโลหิตเป็นระบบที่สำคัญมากในการดำรงชีวิต หน้าที่โดยทั่วไปของระบบนี้คือการขนส่งออกซิเจนและสารอาหารไปยังเซลล์ต่างๆ รวมทั้งขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียออกจากเนื้อเยื่อ รักษา pH ให้เหมาะกับการดำรงชีวิต รวมถึงการขนส่งสาร โปรตีนอาทิฮีโมโกลบิน และเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน

ในประเทศที่พัฒนาแล้ว สาเหตุของการเสียชีวิต 2 อันดับแรกคือโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction) และโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ซึ่งทั้งคู่ต่างเป็นผลมาจากความผิดปกติของการไหลของเลือดซึ่งเสื่อมสภาพไปตามอายุ (ดูเพิ่มที่ โรคท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง)