ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


แม้ว่าปราสาทจะถูกสร้างให้คงอยู่และใช้หินในการก่อสร้างมากกว่าอาคารทั่ว ๆ ไป ปราสาทส่วนใหญ่ยังสร้างด้วย[[ไม้]] และปราสาทหลายแห่งพังทลายอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะใน[[ยุคเซ็งโงะกุ]] (1467–1603) เนื่องจากปราสาทเพิ่งถูกสร้างใหม่ ๆ ในยุคนั้น แต่ในเวลาต่อมา ปราสาทได้รับการบูรณะใหม่ ทั้งในยุคเซ็งโงะกุ [[ยุคเอะโดะ]] (1603–1867) หรือในยุคปัจจุบัน โดยกลายเป็นโบราณสถานหรือพิพิธภัณฑ์ ปัจจุบัน ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]มีปราสาทมากกว่า 100 แห่งที่ยังคงสภาพเดิมหรือเหลือเพียงบางส่วน มีการประมาณไว้ที่ 5,000 แห่ง<ref name="Inoue">{{cite book|last=Inoue|first=Munekazu|year=1959|title=Castles of Japan|location=Tokyo|publisher=Association of Japanese Castle}}</ref> ปราสาทบางแห่งเช่นที่[[ปราสาทมะสึเอะ|มะสึเอะ]] และ[[ปราสาทโคชิ|โคชิ]] ทั้งสองแห่งสร้างใน ค.ศ. 1611 ยังคงสภาพเดิม ไม่ได้รับภัยคุกคามใด ๆ [[ปราสาทฮิโระชิมะ]]ถูก[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ|ระเบิดนิวเคลียร์]]ทำลาย และบูรณะขึ้นใหม่ใน ค.ศ. 1958 และตั้งให้เป็นพิพิธภัณฑ์<ref name="DK">{{cite book|title=DK Eyewitness Travel Guide: Japan|location=London|publisher=DK Publishing|year=2002}}</ref>
แม้ว่าปราสาทจะถูกสร้างให้คงอยู่และใช้หินในการก่อสร้างมากกว่าอาคารทั่ว ๆ ไป ปราสาทส่วนใหญ่ยังสร้างด้วย[[ไม้]] และปราสาทหลายแห่งพังทลายอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะใน[[ยุคเซ็งโงะกุ]] (1467–1603) เนื่องจากปราสาทเพิ่งถูกสร้างใหม่ ๆ ในยุคนั้น แต่ในเวลาต่อมา ปราสาทได้รับการบูรณะใหม่ ทั้งในยุคเซ็งโงะกุ [[ยุคเอะโดะ]] (1603–1867) หรือในยุคปัจจุบัน โดยกลายเป็นโบราณสถานหรือพิพิธภัณฑ์ ปัจจุบัน ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]มีปราสาทมากกว่า 100 แห่งที่ยังคงสภาพเดิมหรือเหลือเพียงบางส่วน มีการประมาณไว้ที่ 5,000 แห่ง<ref name="Inoue">{{cite book|last=Inoue|first=Munekazu|year=1959|title=Castles of Japan|location=Tokyo|publisher=Association of Japanese Castle}}</ref> ปราสาทบางแห่งเช่นที่[[ปราสาทมะสึเอะ|มะสึเอะ]] และ[[ปราสาทโคชิ|โคชิ]] ทั้งสองแห่งสร้างใน ค.ศ. 1611 ยังคงสภาพเดิม ไม่ได้รับภัยคุกคามใด ๆ [[ปราสาทฮิโระชิมะ]]ถูก[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ|ระเบิดนิวเคลียร์]]ทำลาย และบูรณะขึ้นใหม่ใน ค.ศ. 1958 และตั้งให้เป็นพิพิธภัณฑ์<ref name="DK">{{cite book|title=DK Eyewitness Travel Guide: Japan|location=London|publisher=DK Publishing|year=2002}}</ref>

ตัวอักขระที่แปลว่าปราสาท '城' ที่อ่านว่า ''ชิโระ'' (คันจิในภาษาญี่ปุ่น) เมื่อเขียนติดกับคำคำหนึ่งจะอ่านเป็น ''โจ'' (คันจิที่แผลงจากภาษาจีน) เช่นในชื่อปราสาท ตัวอย่างเช่น [[ปราสาทโอซะกะ]] เรียกว่า ''โอซะกะโจ'' (大阪城) ในภาษาญี่ปุ่น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:04, 5 พฤศจิกายน 2558

ปราสาทฮิเมะจิ, มรดกโลกแห่งหนึ่งในจังหวัดเฮียวโงะ เป็นปราสาทที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในประเทศญี่ปุ่น

ปราสาทญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: โรมาจิshiro) เป็นป้อมสนามมักสร้างขึ้นจากไม้และหิน ปราสาทมีวิวัฒนาการจากคุกทหารสร้างด้วยไม้เมื่อศตวรรษต้น ๆ และกลายมาเป็นปราสาทที่เป็นที่รู้จักกันในศตวรรษที่ 16 ปราสาทในประเทศญี่ปุ่นสร้างขึ้นเพื่อคุ้มกันบริเวณพื้นที่สำคัญหรือพื้นที่ยุทธศาสตร์ เช่น ท่าเรือ สะพานข้ามแม่น้ำ สะพานลอย และเกือบจะคุ้มกันทั้งภูมิประเทศ

แม้ว่าปราสาทจะถูกสร้างให้คงอยู่และใช้หินในการก่อสร้างมากกว่าอาคารทั่ว ๆ ไป ปราสาทส่วนใหญ่ยังสร้างด้วยไม้ และปราสาทหลายแห่งพังทลายอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะในยุคเซ็งโงะกุ (1467–1603) เนื่องจากปราสาทเพิ่งถูกสร้างใหม่ ๆ ในยุคนั้น แต่ในเวลาต่อมา ปราสาทได้รับการบูรณะใหม่ ทั้งในยุคเซ็งโงะกุ ยุคเอะโดะ (1603–1867) หรือในยุคปัจจุบัน โดยกลายเป็นโบราณสถานหรือพิพิธภัณฑ์ ปัจจุบัน ในประเทศญี่ปุ่นมีปราสาทมากกว่า 100 แห่งที่ยังคงสภาพเดิมหรือเหลือเพียงบางส่วน มีการประมาณไว้ที่ 5,000 แห่ง[1] ปราสาทบางแห่งเช่นที่มะสึเอะ และโคชิ ทั้งสองแห่งสร้างใน ค.ศ. 1611 ยังคงสภาพเดิม ไม่ได้รับภัยคุกคามใด ๆ ปราสาทฮิโระชิมะถูกระเบิดนิวเคลียร์ทำลาย และบูรณะขึ้นใหม่ใน ค.ศ. 1958 และตั้งให้เป็นพิพิธภัณฑ์[2]

ตัวอักขระที่แปลว่าปราสาท '城' ที่อ่านว่า ชิโระ (คันจิในภาษาญี่ปุ่น) เมื่อเขียนติดกับคำคำหนึ่งจะอ่านเป็น โจ (คันจิที่แผลงจากภาษาจีน) เช่นในชื่อปราสาท ตัวอย่างเช่น ปราสาทโอซะกะ เรียกว่า โอซะกะโจ (大阪城) ในภาษาญี่ปุ่น

อ้างอิง

  1. Inoue, Munekazu (1959). Castles of Japan. Tokyo: Association of Japanese Castle.
  2. DK Eyewitness Travel Guide: Japan. London: DK Publishing. 2002.