ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัยโฮโลซีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงธรณีวิทยา}}


[[หมวดหมู่:สมัยโฮโลซีน]]
[[หมวดหมู่:สมัยโฮโลซีน]]
{{โครงธรณีวิทยา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:26, 1 มิถุนายน 2558

อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกในสมัยโฮโลซีน

โฮโลซีน (อังกฤษ: Holocene) เป็นสมัย (epoch) ทางธรณีวิทยา ที่เริ่มขึ้นหลังจากการสิ้นสุดของไพลส์โตซีน[1] (11,700 ปีก่อนปัจจุบัน ตามปีปฏิทิน) มาจนถึงปัจจุบัน สมัยโฮโลซีนเป็นส่วนหนึ่งของยุคควอเทอร์นารี โดยนับตั้งแต่ปลายยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุด

ชื่อโฮโลซีน มาจากรากศัพท์ภาษากรีก ὅλος (holos แปลว่า ทั้งหมด) และ καινός (kainos แปลว่า ใหม่) ซึ่งแปลว่า "ใหม่ทั้งหมด" ได้รับการบัญญัติโดยสภาธรณีวิทยาสากล ในปี พ.ศ. 2428 [2]

การดำรงอยู่ของมนุษยชาติ สังคมเมืองทั้งหมด อยู่ในสมัยโฮโลซีน ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศค่อนข้างคงที่ นักธรณีวิทยาในปัจจุบันเริ่มบัญญัติศัพท์ว่า แอนโทรโปซีน ซึ่งหมายถึงสมัยที่การกระทำของมนุษย์มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า โดยเริ่มนับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรม ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงปัจจุบัน[3]

อ้างอิง

  1. "International Stratigraphic Chart" (PDF). International Commission on Stratigraphy. สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
  2. Holocene: Overview
  3. Zalasiewicz, J.; และคณะ (2008). "Are we now living in the Anthropocene" (PDF). GSA Today. 18 (2): 4–8. doi:10.1130/GSAT01802A.1. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)