ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมกนีเซียมซัลเฟต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
}}
}}


'''แมกนีเซียมซัลเฟต''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:magnesium sulfate) เป็น [[สารประกอบเคมี]] ของ [[แมกนีเซียม]] มีสูตรเคมีดังนี้ [[แมกนีเซียม|Mg]][[กำมะถัน|S]][[ออกซิเจน|O]]<sub>4</sub> มักอยู่ในรูปของเฮปต้า [[ไฮเดรต]] เริ่มแรกโดยการเคี่ยว[[น้ำแร่]] (mineral water)จนงวดและแห้งที่เมือง [[ยิปซัม]] (Epsom) [[ประเทศอังกฤษ]] และต่อมาภายหลังเตรียมได้จาก [[น้ำทะเล]] และพบในแร่หลายชนิด เช่น [[ซิลิซีอัสไฮเดรตออฟแมกนีเซียม ]] (siliceous hydrate of magnesia)
'''แมกนีเซียมซัลเฟต''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: magnesium sulfate) เป็น [[สารประกอบเคมี]] ของ [[แมกนีเซียม]] มีสูตรเคมีดังนี้ [[แมกนีเซียม|Mg]][[กำมะถัน|S]][[ออกซิเจน|O]]<sub>4</sub> มักอยู่ในรูปของเฮปต้า [[ไฮเดรต]] เริ่มแรกโดยการเคี่ยว[[น้ำแร่]] (mineral water)จนงวดและแห้งที่เมือง [[ยิปซัม]] (Epsom) [[ประเทศอังกฤษ]] และต่อมาภายหลังเตรียมได้จาก [[น้ำทะเล]] และพบในแร่หลายชนิด เช่น [[ซิลิซีอัสไฮเดรตออฟแมกนีเซียม ]] (siliceous hydrate of magnesia)


แมกนีเซียมซัลเฟตในรูปมีน้ำ 7 โมเลกุลเรียกดีเกลือฝรั่งได้มาจากการทำ[[นาเกลือ]]โดยจะตกผลึกปนมากับ[[ดีเกลือไทย]] ในตำรับยาโบราณใช้เป็นยาถ่าย ยาขับ[[น้ำดี]] และใช้แก้พิษ[[ตะกั่ว]]<ref>ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.</ref>
แมกนีเซียมซัลเฟตในรูปมีน้ำ 7 โมเลกุลเรียกดีเกลือฝรั่งได้มาจากการทำ[[นาเกลือ]]โดยจะตกผลึกปนมากับ[[ดีเกลือไทย]] ในตำรับยาโบราณใช้เป็นยาถ่าย ยาขับ[[น้ำดี]] และใช้แก้พิษ[[ตะกั่ว]]<ref>ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:16, 12 กุมภาพันธ์ 2558

แมกนีเซียมซัลเฟต
Anhydrous magnesium sulfate
ชื่อ
IUPAC name
Magnesium sulfate
ชื่ออื่น
Epsom salt
Bitter salts
เลขทะเบียน
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.453 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
RTECS number
  • OM4500000
คุณสมบัติ
MgSO4
มวลโมเลกุล 120.415 g/mol (anhydrous)
246.47 g/mol (heptahydrate)
ลักษณะทางกายภาพ white crystalline solid
ความหนาแน่น 2.66 g/cm3 (anhydrous)
2.445 g/cm3 (monohydrate)
1.68 g/cm3 (heptahydrate)
จุดหลอมเหลว 1124 °C (anhydrous, decomp)
200 °C (monohydrate, decomp)
150 °C (heptahydrate, decomp)
anhydrous
26.9 g/100 mL (0 °C)
25.5 g/100 mL (20 °C)
heptahydrate
71 g/100 mL (20 °C)
ความสามารถละลายได้ 0.0116 g/100 mL (18 °C, ether)
slightly soluble in alcohol, glycerol
insoluble in acetone
1.523 (monohydrate)
1.433 (heptahydrate)
โครงสร้าง
monoclinic (hydrate)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แคทไอออนอื่น ๆ
Beryllium sulfate
Calcium sulfate
Strontium sulfate
Barium sulfate
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แมกนีเซียมซัลเฟต (อังกฤษ: magnesium sulfate) เป็น สารประกอบเคมี ของ แมกนีเซียม มีสูตรเคมีดังนี้ MgSO4 มักอยู่ในรูปของเฮปต้า ไฮเดรต เริ่มแรกโดยการเคี่ยวน้ำแร่ (mineral water)จนงวดและแห้งที่เมือง ยิปซัม (Epsom) ประเทศอังกฤษ และต่อมาภายหลังเตรียมได้จาก น้ำทะเล และพบในแร่หลายชนิด เช่น ซิลิซีอัสไฮเดรตออฟแมกนีเซียม (siliceous hydrate of magnesia)

แมกนีเซียมซัลเฟตในรูปมีน้ำ 7 โมเลกุลเรียกดีเกลือฝรั่งได้มาจากการทำนาเกลือโดยจะตกผลึกปนมากับดีเกลือไทย ในตำรับยาโบราณใช้เป็นยาถ่าย ยาขับน้ำดี และใช้แก้พิษตะกั่ว[1]

ใช้ในการเกษตร

แมกนีเซียมซัลเฟตใช้ในการแก้ไข ดิน ขาดธาตุแมกนีเซียม (แมกนีเซียมเป็นธาตุที่มีความจำเป็นสำหรับโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ (chlorophyll)) โดยส่วนใหญ่มักจะแก้ไขกับดินสำหรับปลูกต้นไม้กระถาง หรือพืชที่ต้องการแมกนีเซียมมาก เช่น มันฝรั่ง กุหลาบ และ มะเขือเทศ ข้อได้เปรียบของแมกนีเซียมซัลเฟตต่อแมกนีเซียมชนิดอื่นที่ใช้แก้ไขดิน เช่น โดโลไมติกไลม์ คือละลายได้ดีกว่า

อ้างอิง

  • Blitz M, Blitz S, Hughes R, Diner B, Beasley R, Knopp J, Rowe BH. Aerosolized magnesium sulfate for acute asthma: a systematic review. Chest 2005;128:337-44. PMID 16002955.
  1. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.