ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาเรล ชาเปก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
เอาประวัติออกนะครับ เพราะข้างบนก็เป็นประวัติอยู่แล้ว
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้าน[[ระบอบนาซี]]และ[[ฟาสซิสต์]] เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังถูก[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]ยึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่[[ปราก]] เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการ[[ปอดบวม]] สิริอายุ 48 ปี
นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้าน[[ระบอบนาซี]]และ[[ฟาสซิสต์]] เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังถูก[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]ยึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่[[ปราก]] เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการ[[ปอดบวม]] สิริอายุ 48 ปี

== ประวัติ ==
กาเรล ชาเปกเกิดเมื่อ ค.ศ. 1890 ในหมู่บ้านบนเทือกเขาของ[[โบฮีเมีย]]ชื่อว่า [[Malé Svatoňovice]] มารดาเขาเป็นคนอ่อนไหวและเจ้าอารมณ์ ส่วนบิดาไม่ค่อยใกล้ชิดแต่ก็เอ็นดูเขา กาเรลเป็นบุตรคนสุดท้องจากพี่น้องรวมสามคน กาเรลรักษาความสัมพันธ์อันดีกับพี่ชาย โยเซฟ โดยอาศัยอยู่ด้วยกันและเขียนงานด้วยกันมาตลอดชีวิต<ref name=Klima>{{Cite book|last=Klima|first=Ivan|title=Karel Čapek: Life and Work|year=2001|publisher=Catbird Press|location=New Haven, CT|isbn=0-945774-53-2|pages=191–200}}</ref>

กาเรลเริ่มหลงไหลในทัศนศิลป์เมื่อเป็นวัยรุ่น โดยเฉพาะ[[ลัทธิคิวบิสม์]] เขาศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยชาลส์]]ในกรุงปราก และที่ซอร์บอนน์ในกรุงปารีส<ref name=Tobranova-Kuhnnova>{{Cite book|last=Tobranova-Kuhnnova|first=Sarka|title=Believe in People: The essential Karel Capek|year=1988|publisher=Faber and Faber|location=London|isbn=978-0-571-23162-1|pages=xvii&nbsp;– xxxvi}}</ref> เขาได้ยกเว้นการเกณฑ์ทหารเนื่องจากปัญหากระดูกสันหลังซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังตลอดชีวิตของเขา กาเรลอาศัยอยู่ในกรุงปรากช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และความเห็นทางการเมืองของเขาเปลี่ยนไปเพราะสงคราม ในฐานะสื่อมวลชนรุ่นใหม่เขาเริ่มเขียนงานในหัวข้อ[[ชาตินิยม]], [[ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ]]<ref name="js">[[James Sallis]], Review of '' Karel Capek: Life and Work'' by Ivan Klima.
''The Magazine of Fantasy and Science Fiction'', (pp. 37–40).</ref> และ[[บริโภคนิยม]] นักเขียนหน้าใหม่ได้พัฒนาความสัมพันธ์อันใกล้ชิดกับกลุ่มผู้นำทางการเมืองของรัฐเชโกสโลวักที่กำลังก่อตั้งขึ้นผ่านการพบปะในแวดวงสังคม หนึ่งในผู้นำที่ว่าคือ [[Tomáš Garrigue Masaryk]] และบุตร [[Jan Masaryk|Jan]] ซึ่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศในเวลาต่อมา

<!--ความพยายามเขียนวรรณกรรมของกาเรลในช่วงเริ่มแรกเป็นบทละครเขียนร่วมกับพี่ชาย [[Josef Čapek|Josef]]{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน|date=July 2012}}-->
ความสำเร็สระดับนานาชาติของกาเรลครั้งแรกคือ ''[[R.U.R.|Rossum's Universal Robots]]'' กล่าวถึงโลก[[ดิสโทเปีย]]ในวันที่แย่วันหนึ่งในโรงงานที่เต็มไปด้วย[[แอนดรอยด์]]ที่มีชีวิต บทละครนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษเมื่อ ค.ศ. 1922 และแสดงในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1923 ตลอดช่วงทศวรรษ 1920 กาเรลเขียนงานในหลายรูปแบบ ทั้งวรรณกรรมและสารคดี แต่งานส่วนใหญ่เป็นแนวสื่อสารมวลชน<ref name="js" />

ในคริสต์ทศวรรษ 1930 งานของกาเรลเน้นไปที่ภัยคุกคามของระบอบเผด็จการนาซีแลฟาสซิสต์อันโหดร้าย และกลางทศวรรษ 1930 กาเรลเป็นผู้ต่อต้านฟาสซิสต์อย่างเปิดเผย<ref name="js" /> ช่วงปีที่เขาผลิตผลงานได้ทีที่สุดอยู่ระหว่าง [[History of Czechoslovakia (1918–1938)|สาธารณรัฐเชโกสโลวาเกียที่หนึ่ง]] (1918–1938) เขาเขียน ''Talks with T. G. Masaryk''<ref>{{google books|e-udK8SWIQEC|Talks with T. G. Masaryk}}</ref>&nbsp;– [[Tomáš Garrigue Masaryk|Masaryk]] เป็นผู้รักชาติชาวเช็กและประธานาธิบดีคนแรกและแขกประจำที่งานเลี้ยงวันศุกร์ในสวนของกาเรล ที่จัดให้นักวิชาการและผู้นำทางความคิดชาวเช็ค กาเรลยังเป็นสมาชิกเครือข่ายทางการเมือง ''[[Hrad (politics)|Hrad]]'' ของ Masaryk ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนกับนักการเมืองในกรณีนี้เป็นความสัมพันธ์ที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน กาเรลเป็นสมาขิกของ [[International PEN]] และเป็นผุ้ก่อตั้งและเป็นประธานคนแรกของ Czechoslovak Pen Club<ref>Derek Sayer,
''The Coasts of Bohemia: A Czech History''. Princeton University Press, 2000
ISBN 069105052X, (p.22-3).</ref>
<!--
Soon after 1938 it became clear that the Western allies (France, Great Britain) had failed to fulfill the agreements (see [[การทรยศโดยชาติตะวันตก]]), and failed to defend Czechoslovakia against [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]. Karel Čapek refused to leave his country&nbsp;– despite the fact that the Nazi [[เกสตาโป]] had named him Czechoslovakia's "public enemy number two".{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน|date=July 2012}} Although he suffered all his life from the condition [[spondyloarthritis]], Karel Čapek died of [[ปอดบวม|double pneumonia]], on 25 December 1938, shortly after part of Czechoslovakia was annexed by Nazi Germany following the so-called [[ความตกลงมิวนิก]]. Čapek is buried at the [[Vyšehrad cemetery]] in Prague. His brother [[Josef Čapek]], a painter and writer, died in the Nazi [[Bergen-Belsen concentration camp|Bergen-Belsen]] [[concentration camp]].<ref>"...his brother and artistic collaborator Josef met his death in Bergen-Belsen."
[[Adam Roberts (British writer)|Adam Roberts]], "Introduction", to ''RUR & War with the Newts''. London, Gollancz, 2011,
ISBN 0575099453 (p.vi).</ref> -->


==ผลงาน==
==ผลงาน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:24, 13 พฤศจิกายน 2557

กาเรล ชาเปก
เกิด9 มกราคม 2433
มาเล สวาโตโยวิตเซ โบฮีเมีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
เสียชีวิต25 ธันวาคม 2481
(48 ปี)
ปราก สาธารณรัฐเชโกสโลวัก
อาชีพนักเขียน
สัญชาติเช็ก
ช่วงเวลาพ.ศ. 2463-2481
คู่สมรสโอลกา ไชน์ฟูโกวา
(สมรส พ.ศ. 2478)

ลายมือชื่อ

กาเรล ชาเปก (อังกฤษ: Karel Čapek, ภาษาเช็ก: [ˈkarɛl ˈtʃapɛk] ( ฟังเสียง); 9 มกราคม 2433 – 25 ธันวาคม พ.ศ. 2481) เป็นนักเขียนชาวเช็ก ผู้ริเริ่มใช้คำว่า robot[1] (หุ่นยนต์) ซึ่งปรากฏอยู่ในบทละครเรื่อง R.U.R.

กาเรล ชาเปกเกิดที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในโบฮีเมีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐเช็ก) เมื่อ พ.ศ. 2433 เขาเป็นบุตรคนสุดท้องจาก 3 คน ครั้งเป็นวัยรุ่น ชาเปกสนใจวิชาทัศนศิลป์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดคิวบิสม์ เขาเข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยชาลส์ที่กรุงปราก และซอร์บอนน์ ประเทศฝรั่งเศส ชาเปกไม่ได้เข้ารับราชการทหารเมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากปัญหาที่กระดูกสันหลัง หลังสำเร็จการศึกษา เขาทำงานเป็นนักหนังสือพิมพ์ และเริ่มเขียนหนังสือร่วมกับพี่ชาย โจเซฟ ชาเปก ใน พ.ศ. 2463 ชาเปกตีพิมพ์ R.U.R. (Rosumovi Univerzální Roboti) ซึ่งกล่าวถึงสภาพสังคมที่หุ่นยนต์ทำงานให้มนุษย์ จนหุ่นยนต์มีความรู้สึกนึกคิดและร่วมกันต่อต้านมนุษย์ ความสำคัญของบทละครนี้คือ ชาเปกใช้คำว่า robot (ซึ่งพี่ชายเป็นผู้ประดิษฐ์[2]) เรียกหุ่นยนต์เป็นครั้งแรก (หุ่นยนต์ที่ชาเปกกล่าวถึง ปัจจุบันคือ แอนดรอยด์[3]) R.U.R. ได้รับความนิยมอย่างสูง จนแปลไปแล้วกว่า 30 ภาษาทั่วโลก[4] (ภาษาอังกฤษชื่อ Rossum’s Universal Robots)

นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้านระบอบนาซีและฟาสซิสต์ เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังถูกนาซียึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่ปราก เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการปอดบวม สิริอายุ 48 ปี

ผลงาน

บทละคร

  • 1920 – R.U.R. (Rossumovi univerzální roboti; แปลไทยในชื่อ ห.ส.ร. หุ่นยนต์สากลราวี โดย ปราบดา หยุ่น[5])
  • 1921 – Pictures from the Insects' Life (Ze života hmyzu)
  • 1922 – The Makropulos Affair (Věc Makropulos)
  • 1927 – Adam the Creator (Adam stvořitel)
  • 1937 – The White Disease (Bílá nemoc)
  • 1938 – The Mother (Matka)

นวนิยาย

  • 1922 – The Absolute at Large (Továrna na absolutno)
  • 1922 – Krakatit
  • 1933 – Hordubal
  • 1934 – Meteor (Povětroň)
  • 1934 – An Ordinary Life (Obyčejný život)
  • 1936 – War with the Newts (Válka s mloky)
  • 1939 – Life and Work of the Composer Foltýn (Život a dílo skladatele Foltýna; ตีพิมพ์หลังเสียชีวิต)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น