ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาเบอร์ลิน (ค.ศ. 1878)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
| wikisource1 = <!-- Up to 5 wikisourceN variables may be specified -->
| wikisource1 = <!-- Up to 5 wikisourceN variables may be specified -->
}}
}}
'''สนธสัญญาเบอร์ลิน''' เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่ง[[การประชุมใหญ่เบอร์ลิน]] (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่ง[[สหราชอาณาจักร]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี|ออสเตรีย-ฮังการี]] [[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3|ฝรั่งเศส]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลี]] [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]และ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ภายใต้[[สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2]] ทบทวน[[สนธิสัญญาซันเสตฟาโน]]ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน<ref>{{Citation |last= Hertslet |first=Edward |year=1891 |contribution=Treaty between Great Britain, Austria-Hungary, France, Germany, Italy, Russia, and Turkey, for the Settlement of the Affairs of the East, signed at Berlin, 13th July 1878 |title=The Map of Europe by Treaty; which have taken place since the general peace of 1814. With numerous maps and notes |volume=IV (1875–1891) |edition=First |publisher=[[Her Majesty's Stationery Office]] |publication-date=1891 |publication-place=London |pages=2759-98 |url=http://archive.org/stream/mapofeuropebytre04hert#page/2758/mode/2up |accessdate=2013-01-02 }}</ref> ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของ[[ราชรัฐบัลแกเรีย]]ซึ่งสถาปนาขึ้นใน[[สนธิสัญญาซันสเตฟาโน]]<ref name="Krasner">{{cite book |last=Krasner |first=Stephen D. |url=http://books.google.com/books?id=TkrfTZlyUogC&pg=PA81 |title=Sovereignty: Organized Hypocrisy |publisher=[[Princeton University Press]] |year=1999 |page=165 |isbn=0-691-00711-X }}</ref> แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย<ref name="Krasner"/><ref>{{Cite EB1911 |wstitle=Bulgaria/History |first=James David |last=Bourchier |authorlink=James David Bourchier }}</ref> ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับ[[ชาวบัลแกเรีย]] การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วใน[[การประชุมคอนสแตนติโนเปิล|การประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล]] ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน
'''สนธสัญญาเบอร์ลิน''' เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่ง[[การประชุมใหญ่เบอร์ลิน]] (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่ง[[สหราชอาณาจักร]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี|ออสเตรีย-ฮังการี]] [[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3|ฝรั่งเศส]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลี]] [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]และ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ภายใต้[[สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2]] ทบทวน[[สนธิสัญญาซันเสตฟาโน]]ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน<ref>{{Citation |last= Hertslet |first=Edward |year=1891 |contribution=Treaty between Great Britain, Austria-Hungary, France, Germany, Italy, Russia, and Turkey, for the Settlement of the Affairs of the East, signed at Berlin, 13th July 1878 |title=The Map of Europe by Treaty; which have taken place since the general peace of 1814. With numerous maps and notes |volume=IV (1875–1891) |edition=First |publisher=[[Her Majesty's Stationery Office]] |publication-date=1891 |publication-place=London |pages=2759-98 |url=http://archive.org/stream/mapofeuropebytre04hert#page/2758/mode/2up |accessdate=2013-01-02 }}</ref> ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของ[[ราชรัฐบัลแกเรีย]]ซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน<ref name="Krasner">{{cite book |last=Krasner |first=Stephen D. |url=http://books.google.com/books?id=TkrfTZlyUogC&pg=PA81 |title=Sovereignty: Organized Hypocrisy |publisher=[[Princeton University Press]] |year=1999 |page=165 |isbn=0-691-00711-X }}</ref> แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย<ref name="Krasner"/><ref>{{Cite EB1911 |wstitle=Bulgaria/History |first=James David |last=Bourchier |authorlink=James David Bourchier }}</ref> ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับ[[ชาวบัลแกเรีย]] การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วใน[[การประชุมคอนสแตนติโนเปิล|การประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล]] ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน


สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองเอกราชของราชรัฐเอกราชโดยพฤตินัยโรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ร่วมกับอัตตาณัติของบัลแกเรีย แม้บัลแกเรียจะทำหน้าที่เป็นเอกราชโดยพฤตินัยและถูกแบ่งเป็นสามส่วน คือ ราชรัฐบัลแกเรีย จังหวัดปกครองตนเองรูเมเลียตะวันออก และมาซิโดเนีย ซึ่งคืนให้แก่ออตโตมัน<ref>{{cite book |last=Jelavich |first=Barbara |url=http://books.google.com/books?id=clLtuNxa1cgC&printsec=frontcover&dq=Russia+and+the+Formation+of+the+Romanian+National+State#PPP1,M1 |title=Russia and the Formation of the Romanian National State, 1821–1878 |publisher=[[Cambridge University Press]] |year=2004 |page=286 |isbn=0-521-52251-X }}</ref> ฉะนั้นจึงทำลายแผนการของรัสเซียสำหรับ "เกรทเทอร์บัลแกเรีย" เอกราชที่นิยมรัสเซีย สนธิสัญญาซันสเตฟาโนได้สร้างรัฐบัลแกเรีย ซึ่งเป็นสิ่งที่บริเตนใหญ่และออสเตรีย-ฮังการีเกรงมากที่สุด<ref>{{cite book |last=Crampton |first=R. J. |url=http://books.google.com/books?id=eH1MSHM1hLUC&printsec=frontcover&dq=A+Concise+History+of+Bulgaria#PPA84,M1 |title=A Concise History of Bulgaria |publisher=[[Cambridge University Press]] |year=2005 |page=84 |isbn=0-521-85085-1 }}</ref>
สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองเอกราชของราชรัฐเอกราชโดยพฤตินัย[[สหราชรัฐโรมาเนีย|โรมาเนีย]] [[ราชรัฐเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]]และ[[ราชรัฐมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]] ร่วมกับอัตตาณัติของบัลแกเรีย แม้บัลแกเรียจะทำหน้าที่เป็นเอกราชโดยพฤตินัยและถูกแบ่งเป็นสามส่วน คือ ราชรัฐบัลแกเรีย จังหวัดปกครองตนเอง[[รูเมเลียตะวันออก]] และ[[มาซิโดเนีย (ภูมิภาค)|มาซิโดเนีย]] ซึ่งคืนให้แก่ออตโตมัน<ref>{{cite book |last=Jelavich |first=Barbara |url=http://books.google.com/books?id=clLtuNxa1cgC&printsec=frontcover&dq=Russia+and+the+Formation+of+the+Romanian+National+State#PPP1,M1 |title=Russia and the Formation of the Romanian National State, 1821–1878 |publisher=[[Cambridge University Press]] |year=2004 |page=286 |isbn=0-521-52251-X }}</ref> ฉะนั้นจึงทำลายแผนการของรัสเซียสำหรับ "[[Greater Bulgaria|เกรทเทอร์บัลแกเรีย]]" เอกราชที่นิยมรัสเซีย สนธิสัญญาซันสเตฟาโนได้สร้างรัฐบัลแกเรีย ซึ่งเป็นสิ่งที่บริเตนใหญ่และออสเตรีย-ฮังการีเกรงมากที่สุด<ref>{{cite book |last=Crampton |first=R. J. |url=http://books.google.com/books?id=eH1MSHM1hLUC&printsec=frontcover&dq=A+Concise+History+of+Bulgaria#PPA84,M1 |title=A Concise History of Bulgaria |publisher=[[Cambridge University Press]] |year=2005 |page=84 |isbn=0-521-85085-1 }}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:25, 13 กรกฎาคม 2557

สนธิสัญญาเบอร์ลิน
สนธิสัญญาระหว่างบริเตนใหญ่ ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี รัสเซียและตุรกี สำหรับการชำระสะสางการงานตะวันออก
ยุโรปตะวันออกเฉียงใต้หลังการประชุมใหญ่เบอร์ลิน
บริบทการประชุมใหญ่เบอร์ลิน หลังสงครามรัสเซีย–ตุรกี (1877–78)
วันลงนาม13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878 (1878-07-13)
ที่ลงนามเบอร์ลิน จักรวรรดิเยอรมัน
ภาคี

สนธสัญญาเบอร์ลิน เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่งการประชุมใหญ่เบอร์ลิน (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่งสหราชอาณาจักร ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส อิตาลี รัสเซียและจักรวรรดิออตโตมันภายใต้สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ทบทวนสนธิสัญญาซันเสตฟาโนซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน[1] ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของราชรัฐบัลแกเรียซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน[2] แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย[2][3] ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับชาวบัลแกเรีย การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วในการประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน

สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองเอกราชของราชรัฐเอกราชโดยพฤตินัยโรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ร่วมกับอัตตาณัติของบัลแกเรีย แม้บัลแกเรียจะทำหน้าที่เป็นเอกราชโดยพฤตินัยและถูกแบ่งเป็นสามส่วน คือ ราชรัฐบัลแกเรีย จังหวัดปกครองตนเองรูเมเลียตะวันออก และมาซิโดเนีย ซึ่งคืนให้แก่ออตโตมัน[4] ฉะนั้นจึงทำลายแผนการของรัสเซียสำหรับ "เกรทเทอร์บัลแกเรีย" เอกราชที่นิยมรัสเซีย สนธิสัญญาซันสเตฟาโนได้สร้างรัฐบัลแกเรีย ซึ่งเป็นสิ่งที่บริเตนใหญ่และออสเตรีย-ฮังการีเกรงมากที่สุด[5]

อ้างอิง

  1. Hertslet, Edward (1891), "Treaty between Great Britain, Austria-Hungary, France, Germany, Italy, Russia, and Turkey, for the Settlement of the Affairs of the East, signed at Berlin, 13th July 1878", The Map of Europe by Treaty; which have taken place since the general peace of 1814. With numerous maps and notes, vol. IV (1875–1891) (First ed.), London: Her Majesty's Stationery Office, pp. 2759–98, สืบค้นเมื่อ 2013-01-02
  2. 2.0 2.1 Krasner, Stephen D. (1999). Sovereignty: Organized Hypocrisy. Princeton University Press. p. 165. ISBN 0-691-00711-X.
  3.  Bourchier, James David (1911). "Bulgaria/History" . ใน Chisholm, Hugh (บ.ก.). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
  4. Jelavich, Barbara (2004). Russia and the Formation of the Romanian National State, 1821–1878. Cambridge University Press. p. 286. ISBN 0-521-52251-X.
  5. Crampton, R. J. (2005). A Concise History of Bulgaria. Cambridge University Press. p. 84. ISBN 0-521-85085-1.