ราชรัฐเซอร์เบีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชรัฐเซอร์เบีย

Княжество Сербіа
Кнежевина Србија
1815–1882
เพลงชาติВостани Сербіє
"Vostani Serbije"
"ตื่นเถิด เซอร์เบีย"
ราชรัฐเซอร์เบียในปี ค.ศ. 1878
ราชรัฐเซอร์เบียในปี ค.ศ. 1878
เมืองหลวงเบลเกรด (1841-82)
ครากูเยวัตส์ (1818–38)
Gornja Crnuća (1815–18)
ภาษาทั่วไปเซอร์เบีย
ศาสนา
ออร์ทอดอกซ์เซอร์เบีย
เดมะนิมชาวเซอร์เบีย
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (1815–1838)
รัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (1838–1882)
เจ้าผู้ครองราชรัฐ 
• 1817–1839 (องค์แรก)
มิโลส โอเบรโนวิกที่ 1
• 1868–1882 (องค์สุดท้าย)
มิลาน โอเบรโนวิกที่ 4
นายกรัฐมนตรี 
• 1815–1816 (คนแรก)
Petar Nikolajević
• 1880–1882 (คนสุดท้าย)
Milan Piroćanac
สภานิติบัญญัติไม่มี (ภายใต้พระราชกฤษฎีกา)
(1815-1858)
สมัชชาแห่งชาติ
(1858-1882)
ประวัติศาสตร์ 
1815
15 กุมภาพันธ์ 1835
• อิสรภาพโดยพฤตินัย
1867
13 กรกฎาคม 1878
1882
พื้นที่
1815[1]24,440 ตารางกิโลเมตร (9,440 ตารางไมล์)
1834[1]37,511 ตารางกิโลเมตร (14,483 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1815[1]
322,500–342,000
• 1834[1]
702,000
• 1874[1]
1,353,000
ก่อนหน้า
ถัดไป
Sanjak of Smederevo
รัฐปฏิวัติเซอร์เบีย
ราชอาณาจักรเซอร์เบีย
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ เซอร์เบีย

ราชรัฐเซอร์เบีย (Serbian Cyrillic: Кнежевина Србија, อักษรโรมัน: Kneževina Srbija) เป็นราชรัฐอิสระในคาบสมุทรบอลข่าน ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการปฏิวัติเซอร์เบีย ช่วงระหว่างการลุกฮือของชาวเซิร์บ ค.ศ. 1804 (ครั้งที่ 1) และ ค.ศ. 1817 (ครั้งที่ 2)[2] ราชรัฐได้รับการสถาปนาขึ้นจากการพบปะเจรจาครั้งแรกระหว่างมิโลส โอเบรโนวิก ผู้นำแห่งการจราจลชาวเซิร์บครั้งที่สอง และมาราชลี ปาชาแห่งออตโตมัน ราชรัฐได้รับเอกราชโดยพฤตินัยในปี ค.ศ. 1867 หลังจากการถอนกำลังของกองทัพออตโตมันจากป้อมปราการแห่งเบลเกรดและประเทศเซอร์เบีย อย่างไรก็ตาม ราชรัฐได้รับการยอมรับจากสากลในปี ค.ศ. 1878 โดยสนธิสัญญาเบอร์ลิน และในปี ค.ศ. 1882 ประเทศได้รับการสถาปนาเป็นราชอาณาจักร

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Michael R. Palairet (2002). The Balkan Economies C.1800-1914: Evolution Without Development. Cambridge University Press. pp. 16–17. ISBN 978-0-521-52256-4.
  2. Roth, Clémentine (2018). Why Narratives of History Matter: Serbian and Croatian Political Discourses on European Integration. Nomos Verlag. p. 263. ISBN 3845291001. สืบค้นเมื่อ 27 March 2020.