ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''นิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ''' (comparative philology) หรือ ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative linguistics) เป็นสาขาหนึ่งของ[[ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ]] มุ่งที่จะศึกษาความเกี่ยวเนื่องของ[[ภาษาโบราณ]] เช่น [[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] อันมีภาษาต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน สันสกฤต อเวสตะ บาลี ฮิทไทท์ เปอร์เซียโบราณ ฯลฯ
'''นิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ''' หรือ '''ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ''' ({{lang-en|comparative philology หรือ comparative linguistics}}) เป็นสาขาหนึ่งของ[[ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ]] มุ่งที่จะศึกษาความเกี่ยวเนื่องของ[[ภาษาโบราณ]] เช่น [[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] อันมีภาษาต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน สันสกฤต อเวสตะ บาลี ฮิทไทท์ เปอร์เซียโบราณ ฯลฯ


เนื้อหาสาระจะศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาษาตระกูลอินโดยุโรปที่ไปแตกกิ่งแขนงในรูปภาษาต่างๆ ดังกล่าว แต่ภาษาเหล่านี้ยังมีระบบเสียง (phonology) ระบบสัณฐานวิทยา (morphology)และระบบ[[วากยสัมพันธ์]] (syntax) ที่ละม้ายกันมาก ความละม้ายกันนี้ มีผู้ตั้งทฤษฎีต่างๆ ขึ้นมามากมาย ซึ่งแต่ละทฤษฎีล้วนแต่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันอย่างแนบแน่น ทำให้ความเชื่อที่ว่าภาษาต่างๆ เหล่านี้มาจากต้นตอเดียวกันแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
เนื้อหาสาระจะศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาษาตระกูลอินโดยุโรปที่ไปแตกกิ่งแขนงในรูปภาษาต่างๆ ดังกล่าว แต่ภาษาเหล่านี้ยังมีระบบเสียง (phonology) ระบบสัณฐานวิทยา (morphology)และระบบ[[วากยสัมพันธ์]] (syntax) ที่ละม้ายกันมาก ความละม้ายกันนี้ มีผู้ตั้งทฤษฎีต่างๆ ขึ้นมามากมาย ซึ่งแต่ละทฤษฎีล้วนแต่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันอย่างแนบแน่น ทำให้ความเชื่อที่ว่าภาษาต่างๆ เหล่านี้มาจากต้นตอเดียวกันแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น


ในประเทศไทย ผู้บุกเบิกงานนิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ และผลิตงานวิชาการทางนี้ออกมาบ้าง ได้แก่ [[เสฐียรโกเศศ]] (พระยาอนุมานราชธน) และ [[กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ปัจจุบันมีการศึกษาด้านนี้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาษาในตระกูลไท มอญ-เขมร ส่วย กูย เป็นต้น
ในประเทศไทย ผู้บุกเบิกงานนิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ และผลิตงานวิชาการทางนี้ออกมาบ้าง ได้แก่ [[เสฐียรโกเศศ]] (พระยาอนุมานราชธน) และ [[กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ปัจจุบันมีการศึกษาด้านนี้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาษาในตระกูลไท มอญ-เขมร ส่วย กูย เป็นต้น



[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:21, 29 สิงหาคม 2555

นิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ หรือ ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ (อังกฤษ: comparative philology หรือ comparative linguistics) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาศาสตร์เชิงประวัติ มุ่งที่จะศึกษาความเกี่ยวเนื่องของภาษาโบราณ เช่น ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อันมีภาษาต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน สันสกฤต อเวสตะ บาลี ฮิทไทท์ เปอร์เซียโบราณ ฯลฯ

เนื้อหาสาระจะศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาษาตระกูลอินโดยุโรปที่ไปแตกกิ่งแขนงในรูปภาษาต่างๆ ดังกล่าว แต่ภาษาเหล่านี้ยังมีระบบเสียง (phonology) ระบบสัณฐานวิทยา (morphology)และระบบวากยสัมพันธ์ (syntax) ที่ละม้ายกันมาก ความละม้ายกันนี้ มีผู้ตั้งทฤษฎีต่างๆ ขึ้นมามากมาย ซึ่งแต่ละทฤษฎีล้วนแต่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันอย่างแนบแน่น ทำให้ความเชื่อที่ว่าภาษาต่างๆ เหล่านี้มาจากต้นตอเดียวกันแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

ในประเทศไทย ผู้บุกเบิกงานนิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ และผลิตงานวิชาการทางนี้ออกมาบ้าง ได้แก่ เสฐียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน) และ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ปัจจุบันมีการศึกษาด้านนี้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาษาในตระกูลไท มอญ-เขมร ส่วย กูย เป็นต้น