ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทนิโจ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ลบหมวดหมู่:จังหวัดเกียวโตะสำเร็จแล้ว; เพิ่มหมวดหมู่:จังหวัดเคียวโตะสำเร็จแล้ว using [[Help:Ga...
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โทคุงาวะ" → "โทะกุงะวะ" +แทนที่ "อิเอยาสุ" → "อิเอะยะซุ" +แทนที่ "โยชิโนบุ" → "โยะชิโนะบุ" ...
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ปราสาทนิโจ (Nijo Castle)''' ตั้งอยู่ใน[[เมืองเกียวโต]] ประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ประกอบไปด้วย ป้อมปราการที่เรียงตัวเป็นวงแหวนสองชั้น [[พระราชวังนิโนมารุ]] ซากพระราชวังฮอนมารุ และอาคารอื่นกับสวนอุทยานอีกหลายแห่ง อาณาบริเวณของปราสาทมีพื้นที่ทั้งหมด 275,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่ที่อาคารสร้างทับอยู่ 8,000 ตารางเมตร
'''ปราสาทนิโจ (Nijo Castle)''' ตั้งอยู่ใน[[เมืองเคียวโตะ]] ประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ประกอบไปด้วย ป้อมปราการที่เรียงตัวเป็นวงแหวนสองชั้น [[พระราชวังนิโนะมะรุ]] ซากพระราชวังฮนมะรุ และอาคารอื่นกับสวนอุทยานอีกหลายแห่ง อาณาบริเวณของปราสาทมีพื้นที่ทั้งหมด 275,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่ที่อาคารสร้างทับอยู่ 8,000 ตารางเมตร


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
* [[พ.ศ. 2144]] [[โทคุงาวะ อิเอยาสุ]] [[โชกุน]]คนแรกของตระกูลโทคุงาวะ มีคำสั่งให้ขุนนางทั้งหมดในญี่ปุ่นด้านตะวันตกร่วมกันสร้างปราสาทนิโจ การก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยของโทคุงาวะ อิเอมิทสึ ใน [[พ.ศ. 2169]] ปราสาทนี้สร้างเพื่อเป็นที่พำนักในเกียวโตของโชกุนตระกูลโทคุงาวะ
* [[พ.ศ. 2144]] [[โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ]] [[โชกุน]]คนแรกของตระกูลโทะกุงะวะ มีคำสั่งให้ขุนนางทั้งหมดในญี่ปุ่นด้านตะวันตกร่วมกันสร้างปราสาทนิโจ การก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยของโทะกุงะวะ อิเอะมิสึ ใน [[พ.ศ. 2169]] ปราสาทนี้สร้างเพื่อเป็นที่พำนักในเคียวโตะของโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ
* [[พ.ศ. 2293]] ป้อมปราการกลางของปราสาทถูกฟ้าผ่า และถูกเผาจนพังทลายลง
* [[พ.ศ. 2293]] ป้อมปราการกลางของปราสาทถูกฟ้าผ่า และถูกเผาจนพังทลายลง
* [[พ.ศ. 2331]] พระราชวังชั้นในถูกเพลิงเผาเนื่องจากเหตุอัคคีภัยที่เกิดขึ้นทั่วเมือง ทั้งบริเวณถูกปล่อยทิ้งร้างจนถึง [[พ.ศ. 2405]]
* [[พ.ศ. 2331]] พระราชวังชั้นในถูกเพลิงเผาเนื่องจากเหตุอัคคีภัยที่เกิดขึ้นทั่วเมือง ทั้งบริเวณถูกปล่อยทิ้งร้างจนถึง [[พ.ศ. 2405]]
* [[พ.ศ. 2410]] [[โทคุงาวะ โยชิโนบุ]] ได้ใช้พระราชวังนิโนมารุเป็นสถานที่ประกาศการคืนอำนาจให้แก่รัฐบาล และปีถัดมา ได้จัดการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีภายในปราสาท
* [[พ.ศ. 2410]] [[โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ]] ได้ใช้พระราชวังนิโนะมะรุเป็นสถานที่ประกาศการคืนอำนาจให้แก่รัฐบาล และปีถัดมา ได้จัดการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีภายในปราสาท
* [[พ.ศ. 2482]] พระราชวังถูกมอบให้เป็นสมบัติของเมืองเกียวโต และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมในปีถัดมา
* [[พ.ศ. 2482]] พระราชวังถูกมอบให้เป็นสมบัติของ[[เมืองเคียวโตะ]] และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมในปีถัดมา


==ป้อมปราการ==
==ป้อมปราการ==
[[ไฟล์:NijoCastleOutside.jpg|thumb|right|กำแพงชั้นในและคูน้ำในปราสาทนิโจ]]
[[ไฟล์:NijoCastleOutside.jpg|thumb|right|กำแพงชั้นในและคูน้ำในปราสาทนิโจ]]


ปราสาทนิโจมีป้อมปราการที่เรียงตัวกันเป็นวงแหวนสองชั้น แต่ละชั้นจะมีทั้งกำแพงและคูน้ำกว้าง และยังมีกำแพงล้อมรอบพระราชวังนิโนมารุอีกชั้นหนึ่ง แต่มีความซับซ้อนน้อยกว่า กำแพงชั้นนอกของป้อมปราการมีประตูอยู่ 3 ประตู ส่วนกำแพงชั้นในมีอยู่ 2 ประตู ที่มุมทางตะวันตกเฉียงใต้ของกำแพงชั้นใน มีซากของป้อมปราการห้าชั้น ซึ่งถูกเพลิงไหม้จนพังทลายเมื่อ [[พ.ศ. 2293]] ภายในกำแพงชั้นในเป็นที่ตั้งของพระราชวังฮอนมารุและอุทยาน ระหว่างวงแหวนป้อมปราการทั้งสองชั้น เป็นที่ตั้งของพระราชวังนิโนมารุ โรงครัว ป้อมสังเกตการณ์ และสวนหย่อมอีกจำนวนมาก
ปราสาทนิโจมีป้อมปราการที่เรียงตัวกันเป็นวงแหวนสองชั้น แต่ละชั้นจะมีทั้งกำแพงและคูน้ำกว้าง และยังมีกำแพงล้อมรอบพระราชวังนิโนะมะรุอีกชั้นหนึ่ง แต่มีความซับซ้อนน้อยกว่า กำแพงชั้นนอกของป้อมปราการมีประตูอยู่ 3 ประตู ส่วนกำแพงชั้นในมีอยู่ 2 ประตู ที่มุมทางตะวันตกเฉียงใต้ของกำแพงชั้นใน มีซากของป้อมปราการห้าชั้น ซึ่งถูกเพลิงไหม้จนพังทลายเมื่อ [[พ.ศ. 2293]] ภายในกำแพงชั้นในเป็นที่ตั้งของพระราชวังฮนมะรุและอุทยาน ระหว่างวงแหวนป้อมปราการทั้งสองชั้น เป็นที่ตั้งของพระราชวังนิโนะมะรุ โรงครัว ป้อมสังเกตการณ์ และสวนหย่อมอีกจำนวนมาก


==พระราชวังนิโนมารุ==
==พระราชวังนิโนะมะรุ==
[[ไฟล์:NinomaruPalace.jpg|thumb|left|ประตูทางเข้าหลักสู่พระราชวังนิโนมารุ]]
[[ไฟล์:NinomaruPalace.jpg|thumb|left|ประตูทางเข้าหลักสู่พระราชวังนิโนะมะรุ]]
[[ไฟล์:03-05-JPN085.jpg|thumb|right|ลวดลายแกะสลักที่ประตูทางเข้าพระราชวังนิโนมารุ]]
[[ไฟล์:03-05-JPN085.jpg|thumb|right|ลวดลายแกะสลักที่ประตูทางเข้าพระราชวังนิโนะมะรุ]]
[[ไฟล์:NijoCastle 3.jpg|thumb|right|พระราชวังฮอนมารุ]]
[[ไฟล์:NijoCastle 3.jpg|thumb|right|พระราชวังฮนมะรุ]]


พระราชวังนิโนมารุมีพื้นที่ 3,300 ตารางเมตร สร้างด้วยไม้สนฮิโนกิเกือบทั้งหลัง ประดับด้วยใบไม้สีทองและไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม เพื่อแสดงให้ผู้มาเยือนประทับใจในอำนาจและความมั่งคั่งของเหล่าโชกุน ประตูเลื่อนและผนังของแต่ละห้องมีภาพเขียนฝาผนังโดยจิตรกรจาก[[โรงเรียนคาโน]]
พระราชวังนิโนะมะรุมีพื้นที่ 3,300 ตารางเมตร สร้างด้วยไม้สนฮิโนกิเกือบทั้งหลัง ประดับด้วยใบไม้สีทองและไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม เพื่อแสดงให้ผู้มาเยือนประทับใจในอำนาจและความมั่งคั่งของเหล่าโชกุน ประตูเลื่อนและผนังของแต่ละห้องมีภาพเขียนฝาผนังโดยจิตรกรจาก[[โรงเรียนคาโน]]


[[สถาปัตยกรรม]]ของปราสาทมีส่วนแสดงให้เห็นถึงการชนชั้นทางสังคมอย่างชัดเจน ในอดีตผู้มาเยือนที่เป็นชนชั้นระดับล่างจะได้รับการต้อนรับที่ห้องชั้นนอก ซึ่งมีการตกแต่งที่หรูหราวิจิตรเพื่อแสดงฐานะของชนชั้นปกครอง ขณะที่ผู้มาเยือนที่เป็นชนชั้นสูง จะได้รับการต้อนรับในห้องชั้นในที่ตกแต่งอย่างเรียบง่ายและละเอียดมากกว่า และขณะที่ปราสาทญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะอำพรางซ่อนเร้นทางเข้าสู่ห้องขององครักษ์ โชกุนตระกูลโทคุงาวะกลับเลือกวางตำแหน่งห้องและทางเข้าให้เห็นอย่างเด่นชัด ด้วยเหตุนี้ อาคารจึงมีลักษณะที่ข่มขวัญและแสดงอำนาจแก่ผู้มาเยือนอยู่ในตัว
[[สถาปัตยกรรม]]ของปราสาทมีส่วนแสดงให้เห็นถึงการชนชั้นทางสังคมอย่างชัดเจน ในอดีตผู้มาเยือนที่เป็นชนชั้นระดับล่างจะได้รับการต้อนรับที่ห้องชั้นนอก ซึ่งมีการตกแต่งที่หรูหราวิจิตรเพื่อแสดงฐานะของชนชั้นปกครอง ขณะที่ผู้มาเยือนที่เป็นชนชั้นสูง จะได้รับการต้อนรับในห้องชั้นในที่ตกแต่งอย่างเรียบง่ายและละเอียดมากกว่า และขณะที่ปราสาทญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะอำพรางซ่อนเร้นทางเข้าสู่ห้องขององครักษ์ โชกุนตระกูลโทะกุงะวะกลับเลือกวางตำแหน่งห้องและทางเข้าให้เห็นอย่างเด่นชัด ด้วยเหตุนี้ อาคารจึงมีลักษณะที่ข่มขวัญและแสดงอำนาจแก่ผู้มาเยือนอยู่ในตัว


ภายในอาคารมีห้องต้อนรับ ห้องทำงาน และห้องพักอาศัยของโชกุนอยู่หลายห้อง เป็นส่วนที่มีเพียงผู้รับใช้หญิงที่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปได้ สิ่งที่มีชื่อเสียงที่สุดอย่างหนึ่งของปราสาทนิโจคือ Nightingale Floors ที่อยู่ในโถงระเบียง ซึ่งผู้สร้างปราสาทได้ออกแบบพื้นของระเบียงให้มีเสียงคล้ายนกร้องเมื่อเดินเหยียบลงไป เพื่อป้องกันผู้อยูอาศัยในปราสาทจากการถูกลอบโจมตีและลอบสังหาร
ภายในอาคารมีห้องต้อนรับ ห้องทำงาน และห้องพักอาศัยของโชกุนอยู่หลายห้อง เป็นส่วนที่มีเพียงผู้รับใช้หญิงที่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปได้ สิ่งที่มีชื่อเสียงที่สุดอย่างหนึ่งของปราสาทนิโจคือ ชั้นไนติงเกล ที่อยู่ในโถงระเบียง ซึ่งผู้สร้างปราสาทได้ออกแบบพื้นของระเบียงให้มีเสียงคล้ายนกร้องเมื่อเดินเหยียบลงไป เพื่อป้องกันผู้อยูอาศัยในปราสาทจากการถูกลอบโจมตีและลอบสังหาร


==พระราชวังฮอนมารุ==
==พระราชวังฮนมะรุ==
พระราชวังฮนมะรุมีอาณาเขตทั้งหมด 1,600 ตารางเมตร ประกอบไปด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนพักอาศัย ส่วนต้อนรับ โถงทางเข้า และโรงครัว ส่วนต่างๆเชื่อมถึงกันด้วยระเบียงทางเดินและสนาม ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบยุคเอโดะช่วงหลัง ในพระราชวังเป็นที่จัดแสดงภาพเขียนโดยจิตรกรที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น คาโน เองากุ


พระราชวังฮนมะรุเดิมเป็นที่รู้จักในชื่อว่า พระราชวังคัทสึระ ก่อนที่จะย้ายมายังตำแหน่งปัจจุบันและเปลี่ยนชื่อใหม่ พระราชวังเดิมมีอาคาร 55 หลัง แต่มีเพียงส่วนเล็กๆส่วนเดียวที่ถูกย้ายสถานที่
พระราชวังฮอนมารุมีอาณาเขตทั้งหมด 1,600 ตารางเมตร ประกอบไปด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนพักอาศัย ส่วนต้อนรับ โถงทางเข้า และโรงครัว ส่วนต่างๆเชื่อมถึงกันด้วยระเบียงทางเดินและสนาม ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบยุคเอโดะช่วงหลัง ในพระราชวังเป็นที่จัดแสดงภาพเขียนโดยจิตรกรที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น คาโน เองากุ

พระราชวังฮอนมารุเดิมเป็นที่รู้จักในชื่อว่า พระราชวังคัทสึระ ก่อนที่จะย้ายมายังตำแหน่งปัจจุบันและเปลี่ยนชื่อใหม่ พระราชวังเดิมมีอาคาร 55 หลัง แต่มีเพียงส่วนเล็กๆส่วนเดียวที่ถูกย้ายสถานที่


==สวนและอุทยาน==
==สวนและอุทยาน==
[[ไฟล์:NijojoGarden3317.jpg|thumb|left|สระน้ำในอุทยานนิโนมารุ]]
[[ไฟล์:NijojoGarden3317.jpg|thumb|left|สระน้ำในอุทยานนิโนะมะรุ]]


ในบริเวณปราสาทมีสวนและอุทยานอยู่หลายแห่ง โดยเฉพาะสวน[[ซากุระ]]และสวน[[บ๊วย]] อุทยานนิโนมารุได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกผู้ออกแบบสวนและผู้เชี่ยวชาญการชงชาที่มีชื่อเสียง มีชื่อว่า โคโบริ เอนชู ตั้งอยู่ระหว่างวงแหวนป้อมปราการสองชั้น และอยู่ถัดจากพระราชวังนิโนมารุ ภายในอุทยานมีสระน้ำขนาดใหญ่ที่มีเกาะอยู่ 3 เกาะ มีสวนหินที่จัดวางอย่างสวยงาม และต้นสนตัดแต่ง
ในบริเวณปราสาทมีสวนและอุทยานอยู่หลายแห่ง โดยเฉพาะสวน[[ซากุระ]]และสวน[[บ๊วย]] อุทยานนิโนะมะรุได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกผู้ออกแบบสวนและผู้เชี่ยวชาญการชงชาที่มีชื่อเสียง มีชื่อว่า โคะโบะริ เอ็นชู ตั้งอยู่ระหว่างวงแหวนป้อมปราการสองชั้น และอยู่ถัดจากพระราชวังนิโนะมะรุ ภายในอุทยานมีสระน้ำขนาดใหญ่ที่มีเกาะอยู่ 3 เกาะ มีสวนหินที่จัดวางอย่างสวยงาม และต้นสนตัดแต่ง


อุทยานเซริวเป็นส่วนที่สร้างขึ้นล่าสุดในบริเวณปราสาทนิโจ โดยสร้างขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2508]] ทางทิศเหนือของบริเวณปราสาท เพื่อเป็นสถานที่ต้อนรับแขกผู้มาเยือนเมืองเกียวโตอย่างเป็นทางการ และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม อุทยานเซริวมีโรงชงชาอยู่ 2 หลัง และมีสวนหินที่ใช้หินมากกว่า 1,000 ก้อน
อุทยานเซริวเป็นส่วนที่สร้างขึ้นล่าสุดในบริเวณปราสาทนิโจ โดยสร้างขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2508]] ทางทิศเหนือของบริเวณปราสาท เพื่อเป็นสถานที่ต้อนรับแขกผู้มาเยือนเมืองเคียวโตะอย่างเป็นทางการ และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม อุทยานเซริวมีโรงชงชาอยู่ 2 หลัง และมีสวนหินที่ใช้หินมากกว่า 1,000 ก้อน


{{coor title dms|35|0|51|N|135|44|51|E|type:landmark}}
{{coor title dms|35|0|51|N|135|44|51|E|type:landmark}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:28, 10 พฤษภาคม 2555

ปราสาทนิโจ (Nijo Castle) ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น ประกอบไปด้วย ป้อมปราการที่เรียงตัวเป็นวงแหวนสองชั้น พระราชวังนิโนะมะรุ ซากพระราชวังฮนมะรุ และอาคารอื่นกับสวนอุทยานอีกหลายแห่ง อาณาบริเวณของปราสาทมีพื้นที่ทั้งหมด 275,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่ที่อาคารสร้างทับอยู่ 8,000 ตารางเมตร

ประวัติ

  • พ.ศ. 2144 โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ โชกุนคนแรกของตระกูลโทะกุงะวะ มีคำสั่งให้ขุนนางทั้งหมดในญี่ปุ่นด้านตะวันตกร่วมกันสร้างปราสาทนิโจ การก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยของโทะกุงะวะ อิเอะมิสึ ใน พ.ศ. 2169 ปราสาทนี้สร้างเพื่อเป็นที่พำนักในเคียวโตะของโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ
  • พ.ศ. 2293 ป้อมปราการกลางของปราสาทถูกฟ้าผ่า และถูกเผาจนพังทลายลง
  • พ.ศ. 2331 พระราชวังชั้นในถูกเพลิงเผาเนื่องจากเหตุอัคคีภัยที่เกิดขึ้นทั่วเมือง ทั้งบริเวณถูกปล่อยทิ้งร้างจนถึง พ.ศ. 2405
  • พ.ศ. 2410 โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ ได้ใช้พระราชวังนิโนะมะรุเป็นสถานที่ประกาศการคืนอำนาจให้แก่รัฐบาล และปีถัดมา ได้จัดการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีภายในปราสาท
  • พ.ศ. 2482 พระราชวังถูกมอบให้เป็นสมบัติของเมืองเคียวโตะ และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมในปีถัดมา

ป้อมปราการ

กำแพงชั้นในและคูน้ำในปราสาทนิโจ

ปราสาทนิโจมีป้อมปราการที่เรียงตัวกันเป็นวงแหวนสองชั้น แต่ละชั้นจะมีทั้งกำแพงและคูน้ำกว้าง และยังมีกำแพงล้อมรอบพระราชวังนิโนะมะรุอีกชั้นหนึ่ง แต่มีความซับซ้อนน้อยกว่า กำแพงชั้นนอกของป้อมปราการมีประตูอยู่ 3 ประตู ส่วนกำแพงชั้นในมีอยู่ 2 ประตู ที่มุมทางตะวันตกเฉียงใต้ของกำแพงชั้นใน มีซากของป้อมปราการห้าชั้น ซึ่งถูกเพลิงไหม้จนพังทลายเมื่อ พ.ศ. 2293 ภายในกำแพงชั้นในเป็นที่ตั้งของพระราชวังฮนมะรุและอุทยาน ระหว่างวงแหวนป้อมปราการทั้งสองชั้น เป็นที่ตั้งของพระราชวังนิโนะมะรุ โรงครัว ป้อมสังเกตการณ์ และสวนหย่อมอีกจำนวนมาก

พระราชวังนิโนะมะรุ

ประตูทางเข้าหลักสู่พระราชวังนิโนะมะรุ
ลวดลายแกะสลักที่ประตูทางเข้าพระราชวังนิโนะมะรุ
พระราชวังฮนมะรุ

พระราชวังนิโนะมะรุมีพื้นที่ 3,300 ตารางเมตร สร้างด้วยไม้สนฮิโนกิเกือบทั้งหลัง ประดับด้วยใบไม้สีทองและไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม เพื่อแสดงให้ผู้มาเยือนประทับใจในอำนาจและความมั่งคั่งของเหล่าโชกุน ประตูเลื่อนและผนังของแต่ละห้องมีภาพเขียนฝาผนังโดยจิตรกรจากโรงเรียนคาโน

สถาปัตยกรรมของปราสาทมีส่วนแสดงให้เห็นถึงการชนชั้นทางสังคมอย่างชัดเจน ในอดีตผู้มาเยือนที่เป็นชนชั้นระดับล่างจะได้รับการต้อนรับที่ห้องชั้นนอก ซึ่งมีการตกแต่งที่หรูหราวิจิตรเพื่อแสดงฐานะของชนชั้นปกครอง ขณะที่ผู้มาเยือนที่เป็นชนชั้นสูง จะได้รับการต้อนรับในห้องชั้นในที่ตกแต่งอย่างเรียบง่ายและละเอียดมากกว่า และขณะที่ปราสาทญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะอำพรางซ่อนเร้นทางเข้าสู่ห้องขององครักษ์ โชกุนตระกูลโทะกุงะวะกลับเลือกวางตำแหน่งห้องและทางเข้าให้เห็นอย่างเด่นชัด ด้วยเหตุนี้ อาคารจึงมีลักษณะที่ข่มขวัญและแสดงอำนาจแก่ผู้มาเยือนอยู่ในตัว

ภายในอาคารมีห้องต้อนรับ ห้องทำงาน และห้องพักอาศัยของโชกุนอยู่หลายห้อง เป็นส่วนที่มีเพียงผู้รับใช้หญิงที่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปได้ สิ่งที่มีชื่อเสียงที่สุดอย่างหนึ่งของปราสาทนิโจคือ ชั้นไนติงเกล ที่อยู่ในโถงระเบียง ซึ่งผู้สร้างปราสาทได้ออกแบบพื้นของระเบียงให้มีเสียงคล้ายนกร้องเมื่อเดินเหยียบลงไป เพื่อป้องกันผู้อยูอาศัยในปราสาทจากการถูกลอบโจมตีและลอบสังหาร

พระราชวังฮนมะรุ

พระราชวังฮนมะรุมีอาณาเขตทั้งหมด 1,600 ตารางเมตร ประกอบไปด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนพักอาศัย ส่วนต้อนรับ โถงทางเข้า และโรงครัว ส่วนต่างๆเชื่อมถึงกันด้วยระเบียงทางเดินและสนาม ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบยุคเอโดะช่วงหลัง ในพระราชวังเป็นที่จัดแสดงภาพเขียนโดยจิตรกรที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น คาโน เองากุ

พระราชวังฮนมะรุเดิมเป็นที่รู้จักในชื่อว่า พระราชวังคัทสึระ ก่อนที่จะย้ายมายังตำแหน่งปัจจุบันและเปลี่ยนชื่อใหม่ พระราชวังเดิมมีอาคาร 55 หลัง แต่มีเพียงส่วนเล็กๆส่วนเดียวที่ถูกย้ายสถานที่

สวนและอุทยาน

สระน้ำในอุทยานนิโนะมะรุ

ในบริเวณปราสาทมีสวนและอุทยานอยู่หลายแห่ง โดยเฉพาะสวนซากุระและสวนบ๊วย อุทยานนิโนะมะรุได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกผู้ออกแบบสวนและผู้เชี่ยวชาญการชงชาที่มีชื่อเสียง มีชื่อว่า โคะโบะริ เอ็นชู ตั้งอยู่ระหว่างวงแหวนป้อมปราการสองชั้น และอยู่ถัดจากพระราชวังนิโนะมะรุ ภายในอุทยานมีสระน้ำขนาดใหญ่ที่มีเกาะอยู่ 3 เกาะ มีสวนหินที่จัดวางอย่างสวยงาม และต้นสนตัดแต่ง

อุทยานเซริวเป็นส่วนที่สร้างขึ้นล่าสุดในบริเวณปราสาทนิโจ โดยสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2508 ทางทิศเหนือของบริเวณปราสาท เพื่อเป็นสถานที่ต้อนรับแขกผู้มาเยือนเมืองเคียวโตะอย่างเป็นทางการ และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม อุทยานเซริวมีโรงชงชาอยู่ 2 หลัง และมีสวนหินที่ใช้หินมากกว่า 1,000 ก้อน

แม่แบบ:Coor title dms