ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคอ้วน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ripchip Bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: eu:Gizentasun
FoxBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: ga:Murtall
บรรทัด 108: บรรทัด 108:
[[fiu-vro:Lihonõminõ]]
[[fiu-vro:Lihonõminõ]]
[[fr:Obésité]]
[[fr:Obésité]]
[[ga:Murtall]]
[[gl:Obesidade]]
[[gl:Obesidade]]
[[he:השמנת יתר חולנית]]
[[he:השמנת יתר חולנית]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:05, 5 กุมภาพันธ์ 2555

โรคอ้วน
(Obesity)
ภาพแสดงเส้นรอบเอวของคนปกติ น้ำหนักเกิน และภาวะอ้วน
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10E66
ICD-9278
DiseasesDB9099
MedlinePlus003101
eMedicinemed/1653
MeSHC23.888.144.699.500

โรคอ้วน หมายถึงสภาวะร่างกายที่มีไขมันสะสมไว้ตามอวัยวะต่างๆ มากจนเกินไป

สาเหตุที่ทำให้เป็นโรคอ้วน

  • กรรมพันธุ์ - ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งคู่ลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 80 แต่ถ้าพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งที่อ้วนลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 40 แต่ไม่ควรที่จะวิตกกังวลจนเกินเหตุ ไม่ใช่ว่าคุณจะสิ้นโอกาสผอมหรือหุ่นดี
  • นิสัยจากการรับประทานอาหาร - คนที่มีนิสัยไม่ดีในการรับประทานอาหาร หรือที่เรียกกันว่า กินจุบจิบ ไม่เป็นเวลาก็ทำให้อ้วนขึ้นได้
  • การไม่ออกกำลังกาย

- ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดี แต่มีการออกกำลังกาย บ้างก็อาจทำให้ยืดเวลาความอ้วน แต่ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดีแล้วนั่งๆ นอนๆ โดยไร้ซึ่งการยืดเส้นยืดสาย ในไม่ช้าก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกาย

  • อารมณ์และจิตใจ - มีบางคนที่รับประทานอาหารตามอารมณ์และจิตใจ เช่น กินอาหารเพื่อดับความโกรธแค้น กลุ้มใจ กังวลใจ บุคคลเหล่านี้จะรู้สึกว่าอาหารทำให้ใจสงบ จึงยึดอาหารไว้เป็นสิ่งที่สร้างความสบายใจ - แต่ในทางกลับกัน บางคนที่รู้สึกเสียใจ กลุ้มใจ ก็กินอาหารไม่ได้ ถ้าในระยะเวลานานๆ ก็มีผลทำให้เกิดการขาดอาหาร ฯลฯ
  • ความไม่สมดุลกับความรู้สึกอิ่ม ความหิว ความอยากอาหาร - เมื่อใดที่ความอยากกินเพิ่มขึ้นเมื่อนั้นการบริโภคก็จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถึงขั้น "กินจุ" ในที่สุดก็จะทำให้เกิดความอ้วน
  • เพศ - ผู้หญิงสามารถอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ชาย เพราะโดยธรรมชาติมักสรรหาอาหารมากินได้ตลอดเวลา อีกทั้งผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์ทำให้น้ำหนักตัวมากขึ้น เพราะต้องกินอาหารมากขึ้น เพื่อบำรุงร่างกายและทารกในครรภ์ และหลังคลอดบุตรแล้วก็ไม่สามารถลดน้ำหนักลงให้เท่ากับเมื่อก่อนตั้งครรภ์ได้
  • อายุ - เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสที่จะอ้วนก็เพิ่มขึ้น ทั้งผู้ชายและผู้หญิง ซึ่งอาจเกิดจากการใช้พลังงานน้อยลง
  • กระบวนการทางเคมีที่เกิดกับร่างกาย
  • ยา - ผู้ป่วยบางโรคนั้น จะได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานก็ทำให้อ้วนได้ และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือใช้ยาคุมกำเนิด ก็ทำให้อ้วนได้เหมือนกัน
  • โรคบางชนิด เช่น ไฮโปไทรอยด์

โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก

วิธีการลดความอ้วน

อ้างอิง

  • Bhargava, Alok; Guthrie, J. (2002). "Unhealthy eating habits, physical exercise and macronutrient intakes are predictors of anthropometric indicators in the Women's Health Trial: Feasibility Study in Minority Populations". British Journal of Nutrition. 88 (6): 719–728. doi:10.1079/BJN2002739. PMID 12493094.
  • Bhargava, Alok (2006). "Fiber intakes and anthropometric measures are predictors of circulating hormone, triglyceride, and cholesterol concentration in the Women's Health Trial". Journal of Nutrition. 136 (8): 2249–2254. PMID 16857849.
  • Jebb S. and Wells J. Measuring body composition in adults and children In:Peter G. Kopelman, Ian D. Caterson, Michael J. Stock, William H. Dietz (2005). Clinical obesity in adults and children: In Adults and Children. Blackwell Publishing. pp. 12–28. ISBN 140-511672-2.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Kopelman P., Caterson I. An overview of obesity management In:Peter G. Kopelman, Ian D. Caterson, Michael J. Stock, William H. Dietz (2005). Clinical obesity in adults and children: In Adults and Children. Blackwell Publishing. pp. 319–326. ISBN 140-511672-2.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • National Heart, Lung, and Blood Institute (NHLBI) (1998). Clinical Guidelines on the Identification, Evaluation, and Treatment of Overweight and Obesity in Adults (PDF). International Medical Publishing, Inc. ISBN 1-58808-002-1.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • "Obesity: guidance on the prevention, identification, assessment and management of overweight and obesity in adults and children" (pdf). National Institute for Health and Clinical Excellence(NICE). National Health Services (NHS). 2006. สืบค้นเมื่อ April 8, 2009.
  • Puhl R., Henderson K., and Brownell K. Social consequences of obesity In:Peter G. Kopelman, Ian D. Caterson, Michael J. Stock, William H. Dietz (2005). Clinical obesity in adults and children: In Adults and Children. Blackwell Publishing. pp. 29–45. ISBN 140-511672-2.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Seidell JC. Epidemiology — definition and classification of obesity In:Peter G. Kopelman, Ian D. Caterson, Michael J. Stock, William H. Dietz (2005). Clinical obesity in adults and children: In Adults and Children. Blackwell Publishing. pp. 3–11. ISBN 140-511672-2.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • World Health Organization (WHO) (2000). Technical report series 894: Obesity: Preventing and managing the global epidemic (PDF). Geneva: World Health Organization. ISBN 92-4-120894-5.

หนังสืออ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA