ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาปากหนวด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| genus = ''[[Hypsibarbus]]''
| genus = ''[[Hypsibarbus]]''
| species = ''H. vernayi''
| species = ''H. vernayi''
| binomial = '''''Hypsibabus vernayi'''''
| binomial = '''''Hypsibarbus vernayi'''''
| binomial_authority = (Norman, [[ค.ศ. 1925]])
| binomial_authority = (Norman, [[ค.ศ. 1925]])
| synonyms = *''Puntius vernayi''
| synonyms = *''Puntius vernayi''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:36, 5 พฤศจิกายน 2553

ปลาปากหนวด
ไฟล์:H.vernayi.jpg
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Cypriniformes
วงศ์: Cyprinidae
วงศ์ย่อย: Cyprininae - Poropunti
สกุล: Hypsibarbus
สปีชีส์: H.  vernayi
ชื่อทวินาม
Hypsibarbus vernayi
(Norman, ค.ศ. 1925)
ชื่อพ้อง
  • Puntius vernayi

ปลาปากหนวด ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus vernayi ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) แต่ต่างกันตรงที่ครีบก้นไม่ยาวถึงโคนหางเหมือนปลาตะพากเหลือง ครีบและหางเป็นสีแดงเข้มหรือสีส้ม และถิ่นที่อยู่พบในภาคอีสาน, ภาคเหนือ และภาคกลางแถบ จังหวัดเพชรบุรี, ราชบุรี พบน้อยกว่าปลาตะพากเหลือง คือพบเป็นบางฤดูกาลเท่านั้น [1]

นอกจากนี้แล้วนี้มีชื่อเรียกในเขตแม่น้ำน่านว่า "ปีกแดง" ซึ่งในช่วงฤดูฝนจะมีปรากฏการณ์ ปลาว่ายทวนน้ำขึ้นมาเพื่อผสมพันธุ์และวางไข่เป็นจำนวนมากกองสุมรวมกัน ซึ่งชาวบ้านเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "ปลากอง"[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลภายนอก