ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร์แต็งแห่งตูร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
D'ohBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ar:مارتين التوروزي
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: zh:都尔的玛尔定; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
{{กล่องข้อมูล นักบุญ
{{กล่องข้อมูล นักบุญ
| ชื่อ = นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์<br><small>นักบุญมาร์แตงแห่งตูร์</small>
| ชื่อ = นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์<br /><small>นักบุญมาร์แตงแห่งตูร์</small>
| ภาพ = Odolanow4a.jpg
| ภาพ = Odolanow4a.jpg
| ขนาดภาพ = 250px
| ขนาดภาพ = 250px
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| หัวข้อ =บาทหลวงและ Confessor
| หัวข้อ =บาทหลวงและ Confessor
| วันเกิด = ราวปี ค.ศ. 316 หรือ 317
| วันเกิด = ราวปี ค.ศ. 316 หรือ 317
| เกิดที่ = <br>บริเวณแพนโนเนีย<br>ใน[[ประเทศฮังการี]]
| เกิดที่ = <br />บริเวณแพนโนเนีย<br />ใน[[ประเทศฮังการี]]
| วันเสียชีวิต = 11 พฤศจิกายนปี ค.ศ. 397
| วันเสียชีวิต = 11 พฤศจิกายนปี ค.ศ. 397
| เสียชีวิตที่ = <br>เมืองคองเดส์<br>ซองมาร์แตงใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]
| เสียชีวิตที่ = <br />เมืองคองเดส์<br />ซองมาร์แตงใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]
| นิกาย = [[นิกายโรมันคาทอลิก]]<br>
| นิกาย = [[นิกายโรมันคาทอลิก]]<br />
[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]<br>
[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]<br />
[[นิกายลูเธอรัน]]<br>
[[นิกายลูเธอรัน]]<br />
| วันประกาศ =
| วันประกาศ =
| ที่ประกาศ =
| ที่ประกาศ =
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
'''นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์''' หรือ '''นักบุญมาร์แตงแห่งตูร์''' (ภาษาอังกฤษ: Martin of Tours; [[ภาษาฝรั่งเศส]]: Martin de Tours; [[ภาษาละติน]]: Martinus) ราวปี ค.ศ. 316 หรือ 317 ที่บริเวณแพนโนเนียใน[[ประเทศฮังการี]]ปัจจุบัน และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายนปี ค.ศ. 397 ที่เมืองแคนเดสซองมาร์แตง เป็นบาทหลวงของเมืองทัวส์ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] ซึ่งเป็นเมืองที่นักแสวงบุญที่เดินทางไปแสวงบุญที่[[ซานติอาโกเดอคอมโพสเตลลา]] [[ประเทศสเปน]]นิยมหยุดพัก ตำนานเกี่ยวกับนักบุญมาร์ตินมึด้วยกันหลายเรื่องจนเป็น[[นักบุญ]]องค์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดีใน[[นิกายโรมันคาทอลิก]] ตำนานบางอย่างก็ถูกบันทึกลงใน “vita” หรือชีวะประวัติของพระองค์เพื่อเพิ่มความน่าเลื่อมใสใน[[ลัทธินิยม]]นักบุญมาร์ติน ชีวะประวัติของพระองค์ถูกบันทึกโดยซุลพิเชียส เซเวรุส (Sulpicius Severus) ผู้เป็นนักเขียน[[วรรณกรรมนักบุญ]] มาร์ตินเป็นนักบุญผู้พิทักษ์ประเทศฝรั่งเศสและ[[ทหาร]]
'''นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์''' หรือ '''นักบุญมาร์แตงแห่งตูร์''' (ภาษาอังกฤษ: Martin of Tours; [[ภาษาฝรั่งเศส]]: Martin de Tours; [[ภาษาละติน]]: Martinus) ราวปี ค.ศ. 316 หรือ 317 ที่บริเวณแพนโนเนียใน[[ประเทศฮังการี]]ปัจจุบัน และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายนปี ค.ศ. 397 ที่เมืองแคนเดสซองมาร์แตง เป็นบาทหลวงของเมืองทัวส์ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] ซึ่งเป็นเมืองที่นักแสวงบุญที่เดินทางไปแสวงบุญที่[[ซานติอาโกเดอคอมโพสเตลลา]] [[ประเทศสเปน]]นิยมหยุดพัก ตำนานเกี่ยวกับนักบุญมาร์ตินมึด้วยกันหลายเรื่องจนเป็น[[นักบุญ]]องค์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดีใน[[นิกายโรมันคาทอลิก]] ตำนานบางอย่างก็ถูกบันทึกลงใน “vita” หรือชีวะประวัติของพระองค์เพื่อเพิ่มความน่าเลื่อมใสใน[[ลัทธินิยม]]นักบุญมาร์ติน ชีวะประวัติของพระองค์ถูกบันทึกโดยซุลพิเชียส เซเวรุส (Sulpicius Severus) ผู้เป็นนักเขียน[[วรรณกรรมนักบุญ]] มาร์ตินเป็นนักบุญผู้พิทักษ์ประเทศฝรั่งเศสและ[[ทหาร]]


==ชีวิตเบื้องต้น==
== ชีวิตเบื้องต้น ==
ชื่อของนักบุญมาร์ตินตั้งตาม “Mars” คือเทพเจ้าแห่งสงครามซึ่งเป็นเทพเจ้า[[โรมัน]] ซึ่งซุลพิเชียส เซเวรุสตีความหมายว่า “ผู้กล้าหาญ” นักบุญมาร์ตินเกิดที่เมืองซาวาเรีย บริเวณแพนโนเนีย ใน[[ประเทศฮังการี]]ในปัจจุบัน พ่อของมาร์ตินเป็นเจ้าหน้าที่ชั้นสูงของทหารม้ารักษาพระองค์ซึ่งเป็นหน่วยหนึ่งของกองทัพ[[จักรวรรดิโรมัน]] ซึ่งต่อมาถูกส่งตัวไปประจำการที่ทิซินุม (Ticinum) ในปัจจุบันคือบริเวณปาเวีย (Pavia) ใน[[ประเทศอิตาลี]]ซึ่งเป็นที่ที่มาร์ตินเติบโต
ชื่อของนักบุญมาร์ตินตั้งตาม “Mars” คือเทพเจ้าแห่งสงครามซึ่งเป็นเทพเจ้า[[โรมัน]] ซึ่งซุลพิเชียส เซเวรุสตีความหมายว่า “ผู้กล้าหาญ” นักบุญมาร์ตินเกิดที่เมืองซาวาเรีย บริเวณแพนโนเนีย ใน[[ประเทศฮังการี]]ในปัจจุบัน พ่อของมาร์ตินเป็นเจ้าหน้าที่ชั้นสูงของทหารม้ารักษาพระองค์ซึ่งเป็นหน่วยหนึ่งของกองทัพ[[จักรวรรดิโรมัน]] ซึ่งต่อมาถูกส่งตัวไปประจำการที่ทิซินุม (Ticinum) ในปัจจุบันคือบริเวณปาเวีย (Pavia) ใน[[ประเทศอิตาลี]]ซึ่งเป็นที่ที่มาร์ตินเติบโต


พออายุได้ 10 ขวบมาร์ตินก็ไปวัดทั้งๆ ที่ขัดกับความประสงค์ของพ่อแม่และถูกเลือกให้รับศึลจุ่ม เมื่อปี ค.ศ. 316[[คริสต์ศาสนา]]เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันแล้ว แต่ยังไม่เป็นศาสนาที่เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายเท่าทางอาณาจักรโรมันตะวันออก การเผยแพร่ศาสนาทางอาณาจักรโรมันตะวันตกก็มากับชาวยิวและชาวกรีกที่เข้ารึตที่มาทำการค้าขาย แต่ศาสนาคริสต์ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรับกันในหมู่ชาวโรมันชั้นสูงและในบรรดาทหาร ซึ่งจะนิยม[[ลัทธินิยม]] “ไมธราส” มากกว่า ถึงแม่ว่า[[จักรพรรดิคอนแสตนตินที่ 1]]เองจะทรงเปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนาและทรงสนับสนุนการสร้างวัดโดยทั่วไปเพื่อเผยแพร่ศาสนา แต่คริสต์ศาสนาในขณะนั้นก็ยังเป็นศาสนาที่นับถือกันในกลุ่มของชนส่วนน้อย เมื่ออายุได้สิบห้าปีมาร์ตินก็ต้องเข้าเป็นทหารม้าเพราะพ่อเคยรับราชการมาก่อนและถูกส่งตัวไป “Ambianensium civitas” ซึ่งในปัจจุบันคือเมืองอาเมียงในประเทศฝรั่งเศส
พออายุได้ 10 ขวบมาร์ตินก็ไปวัดทั้งๆ ที่ขัดกับความประสงค์ของพ่อแม่และถูกเลือกให้รับศึลจุ่ม เมื่อปี ค.ศ. 316[[คริสต์ศาสนา]]เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันแล้ว แต่ยังไม่เป็นศาสนาที่เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายเท่าทางอาณาจักรโรมันตะวันออก การเผยแพร่ศาสนาทางอาณาจักรโรมันตะวันตกก็มากับชาวยิวและชาวกรีกที่เข้ารึตที่มาทำการค้าขาย แต่ศาสนาคริสต์ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรับกันในหมู่ชาวโรมันชั้นสูงและในบรรดาทหาร ซึ่งจะนิยม[[ลัทธินิยม]] “ไมธราส” มากกว่า ถึงแม่ว่า[[จักรพรรดิคอนแสตนตินที่ 1]]เองจะทรงเปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนาและทรงสนับสนุนการสร้างวัดโดยทั่วไปเพื่อเผยแพร่ศาสนา แต่คริสต์ศาสนาในขณะนั้นก็ยังเป็นศาสนาที่นับถือกันในกลุ่มของชนส่วนน้อย เมื่ออายุได้สิบห้าปีมาร์ตินก็ต้องเข้าเป็นทหารม้าเพราะพ่อเคยรับราชการมาก่อนและถูกส่งตัวไป “Ambianensium civitas” ซึ่งในปัจจุบันคือเมืองอาเมียงในประเทศฝรั่งเศส


==ตำนานเสื้อคลุม==
== ตำนานเสื้อคลุม ==
[[ภาพ:La charité de saint Martin.jpg|thumb|180px|left|“ความมีกุศลของนักบุญมาร์ติน”<br>โดย [[ฌอง โฟเคท์]] (Jean Fouquet)]]
[[ไฟล์:La charité de saint Martin.jpg|thumb|180px|left|“ความมีกุศลของนักบุญมาร์ติน”<br />โดย [[ฌอง โฟเคท์]] (Jean Fouquet)]]
[[ภาพ:El Greco 036.jpg|thumb|200px|“นักบุญมาร์ตินและขอทาน” โดยเอล เกรโก (El Greco), ประมาณ ค.ศ. 1597-1599 ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, [[วอชิงตัน ดี.ซี.]]]]
[[ไฟล์:El Greco 036.jpg|thumb|200px|“นักบุญมาร์ตินและขอทาน” โดยเอล เกรโก (El Greco), ประมาณ ค.ศ. 1597-1599 ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, [[วอชิงตัน ดี.ซี.]]]]
ขณะที่มาร์ตินยังเป็นทหารอยู่ที่เมืองอาเมียงท่านก็มีวิสัยทัศน์ในภาพชีวิตของท่านเองครั้งแล้วครั้งเล่า ภาพที่เห็นคือท่านจะยืนอยู่หน้าประตูเมืองอาเมียงกับทหารเมื่อท่านเห็นขอทาน ท่านก็ตัดสินใจทันทีโดยตัดเสื้อคลุมทหารที่ท่านใส่อยู่เป็นครึ่งแล้วยกครึ่งหนึ่งให้กับขอทาน พอตกกลางคืนท่านก็ฝันเห็น[[พระเยซู]]ใส่เสื้อคลุมครึ่งตัวที่ท่านตัดให้ขอทาน และได้ยินพระเยซูกล่าวกับเทวดาว่า “นี่คือมาร์ติน, ทหารโรมันผู้ที่ยังมิได้รับศีลจุ่ม; เขาให้เสื้อฉันใส่”
ขณะที่มาร์ตินยังเป็นทหารอยู่ที่เมืองอาเมียงท่านก็มีวิสัยทัศน์ในภาพชีวิตของท่านเองครั้งแล้วครั้งเล่า ภาพที่เห็นคือท่านจะยืนอยู่หน้าประตูเมืองอาเมียงกับทหารเมื่อท่านเห็นขอทาน ท่านก็ตัดสินใจทันทีโดยตัดเสื้อคลุมทหารที่ท่านใส่อยู่เป็นครึ่งแล้วยกครึ่งหนึ่งให้กับขอทาน พอตกกลางคืนท่านก็ฝันเห็น[[พระเยซู]]ใส่เสื้อคลุมครึ่งตัวที่ท่านตัดให้ขอทาน และได้ยินพระเยซูกล่าวกับเทวดาว่า “นี่คือมาร์ติน, ทหารโรมันผู้ที่ยังมิได้รับศีลจุ่ม; เขาให้เสื้อฉันใส่”
<ref>[http://www.users.csbsju.edu/~eknuth/npnf2-11/sulpitiu/lifeofst.html#tp Sulpicius, ch 2]</ref> อีกเรื่องหนึ่งกล่าวว่าเมื่อมาร์ตินตื่นขึ้นมาเสื้อที่ตัดไปกลับมาเป็นเสื้อคลุมเต็มตัวตามเดิม เสื้อคลุมศักดิ์สิทธิ์ตัวนี้ก็เก็บรักษาไว้เป็นส่วนหนึ่งของสมบัตื[[วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา|วัตถุมงคล]]ของพระเจ้าแผ่นดิน[[ราชวงศ์เมโรวิงเจียน]]ซึ่งเป็นพระเจ้าแผ่นดินของชนแฟรงก์ต่อมา
<ref>[http://www.users.csbsju.edu/~eknuth/npnf2-11/sulpitiu/lifeofst.html#tp Sulpicius, ch 2]</ref> อีกเรื่องหนึ่งกล่าวว่าเมื่อมาร์ตินตื่นขึ้นมาเสื้อที่ตัดไปกลับมาเป็นเสื้อคลุมเต็มตัวตามเดิม เสื้อคลุมศักดิ์สิทธิ์ตัวนี้ก็เก็บรักษาไว้เป็นส่วนหนึ่งของสมบัตื[[วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา|วัตถุมงคล]]ของพระเจ้าแผ่นดิน[[ราชวงศ์เมโรวิงเจียน]]ซึ่งเป็นพระเจ้าแผ่นดินของชนแฟรงก์ต่อมา
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
หลังจากนั้นมาร์ตินก็ประกาศตนเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเดินทางไปเมืองทัวร์เพื่อไปเป็นสาวกของนักบุญฮิลารีแห่งปอยเตียร์ (Hilary of Poitiers) ผู้เป็นผู้สนับสนุน[[ปรัชญาตรีเอกภาพ]] (Trinitarian) และเป็นปฏิปักษ์ต่อปรัชญาทวิเอกภาพ หรือ ลัทธิเอเรียนิสม์ (Arianism) ของขุนนางชาววิสิกอธ (Visigoth) เมื่อนักบุญฮิลารีถูกขับออกจากเมืองปอยเตียร์ มาร์ตินก็กลับไปอิตาลี ระหว่างทางนักบุญมาร์ตินก็ชักชวนคนเข้ารีตไปด้วยตามคำของซุลพิเชียส เซเวรุส ขณะเดียวกันก็ผจญปีศาจ เมื่อกลับมาจากอิลลิเรีย (Illyria) ซึ่งอยู่ในบริเวณคาบสมุทรบัลคานในปัจจุบันนักบุญมาร์ตินก็ต้องเผชิญหน้ากับอ็อกเซ็นเทียส (Auxentius) ผู้เป็นอาร์ชบิชอบแห่ง[[มิลาน]] ผู้นับถือลัทธิเอเรียนิสมผู้ไล่มาร์ตินออกจากเมือง ตามตำนานก็ว่ามาร์ตินไปหาที่หลบภัยที่เกาะกาลลินาเรีย (Gallinaria) ซึ่งปัจจุบันคือเกาะอัลเบนยา (Isola d'Albenga) ในทะเลไทเรเนียน (Tyrrhenian Sea) ซึ่งเป็นที่ที่มาร์ตินใช้ชีวิตอย่างสันโดษ
หลังจากนั้นมาร์ตินก็ประกาศตนเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเดินทางไปเมืองทัวร์เพื่อไปเป็นสาวกของนักบุญฮิลารีแห่งปอยเตียร์ (Hilary of Poitiers) ผู้เป็นผู้สนับสนุน[[ปรัชญาตรีเอกภาพ]] (Trinitarian) และเป็นปฏิปักษ์ต่อปรัชญาทวิเอกภาพ หรือ ลัทธิเอเรียนิสม์ (Arianism) ของขุนนางชาววิสิกอธ (Visigoth) เมื่อนักบุญฮิลารีถูกขับออกจากเมืองปอยเตียร์ มาร์ตินก็กลับไปอิตาลี ระหว่างทางนักบุญมาร์ตินก็ชักชวนคนเข้ารีตไปด้วยตามคำของซุลพิเชียส เซเวรุส ขณะเดียวกันก็ผจญปีศาจ เมื่อกลับมาจากอิลลิเรีย (Illyria) ซึ่งอยู่ในบริเวณคาบสมุทรบัลคานในปัจจุบันนักบุญมาร์ตินก็ต้องเผชิญหน้ากับอ็อกเซ็นเทียส (Auxentius) ผู้เป็นอาร์ชบิชอบแห่ง[[มิลาน]] ผู้นับถือลัทธิเอเรียนิสมผู้ไล่มาร์ตินออกจากเมือง ตามตำนานก็ว่ามาร์ตินไปหาที่หลบภัยที่เกาะกาลลินาเรีย (Gallinaria) ซึ่งปัจจุบันคือเกาะอัลเบนยา (Isola d'Albenga) ในทะเลไทเรเนียน (Tyrrhenian Sea) ซึ่งเป็นที่ที่มาร์ตินใช้ชีวิตอย่างสันโดษ


==โจมตีผู้นับถือลัทธิเอเรียนิสม์==
== โจมตีผู้นับถือลัทธิเอเรียนิสม์ ==
เมื่อนักบุญฮิลารีกลับมาเมื่อ ค.ศ. 361 ก็ร่วมกับมาร์ตินในการก่อสร้างสำนักสงฆ์ที่ต่อมาเป็นสำนักสงฆ์[[ลัทธิเบ็นนาดิคติน]]ลิกูจ์ (Ligugé Abbey) ซึ่งกลายมาเป็นสถานที่สำคัญในการสอนศาสนาของบริเวณนั้น นักบุญมาร์ตินก็เดินทางไปทั้งด้านตะวันตกของกอลเพื่อเผยแพร่ศาสนา “รายละเอียดของการเดินทางเผยแพร่ศาสนายังเหลือให้เราทราบตามตำนานที่มาร์ตินเป็นผู้มีบทบาทซึ่งทำให้เราเห็นแผนการเดินทางอย่างคร่าวๆ” (Catholic Encyclopedia)
เมื่อนักบุญฮิลารีกลับมาเมื่อ ค.ศ. 361 ก็ร่วมกับมาร์ตินในการก่อสร้างสำนักสงฆ์ที่ต่อมาเป็นสำนักสงฆ์[[ลัทธิเบ็นนาดิคติน]]ลิกูจ์ (Ligugé Abbey) ซึ่งกลายมาเป็นสถานที่สำคัญในการสอนศาสนาของบริเวณนั้น นักบุญมาร์ตินก็เดินทางไปทั้งด้านตะวันตกของกอลเพื่อเผยแพร่ศาสนา “รายละเอียดของการเดินทางเผยแพร่ศาสนายังเหลือให้เราทราบตามตำนานที่มาร์ตินเป็นผู้มีบทบาทซึ่งทำให้เราเห็นแผนการเดินทางอย่างคร่าวๆ” (Catholic Encyclopedia)


[[ภาพ:Martin-Tours.jpg|thumb|left|นักบุญมาร์ตินเป็นบาทหลวง ไอคอนสมัยใหม่ ที่สำนักสงฆ์อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ทีโทโคส ที่แคนโทค ประเทศศฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:Martin-Tours.jpg|thumb|left|นักบุญมาร์ตินเป็นบาทหลวง ไอคอนสมัยใหม่ ที่สำนักสงฆ์อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ทีโทโคส ที่แคนโทค ประเทศศฝรั่งเศส]]
เมื่อปี ค.ศ. 371 มาร์ตินก็เป็นบาทหลวงของทัวร์ ผู้ซึ่งมีบทบาทในการสั่งให้ทำลายและเผาวัดนอกศาสนา การกระทำเช่นนี้ทำให้เราเห็นภาพว่าวัฒนธรรมดรูอิดยังมีรากฐานลึกกว่าวัฒนธรรมของโรมันที่มีเพียงผิวเผิน เช่นเมื่อนักบุญมาร์ตินสั่งให้ทำลายวัดโบราณของดรูอิดซึ่งอยู่กลางดงสน เมื่อทำลายวัดชาวบ้านก็มิได้ต่อต้านมากเท่าใด แต่เมื่อนักบุญมาร์ตินสั่งให้ตัดต้นไม้ชาวบ้านก็ประท้วงกัน (ซุลพิเชียส , “Vita” บทที่ xiii) ซุลพิเชียสกล่าวว่าหลังจากนั้นมาร์ตินก็ไปเมืองมาร์มูเตียร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มาร์ตินตั้งขึ้นอยู่บนฝั่งตรงข้ามกับเมืองทัวร์ จากที่นี่มาร์ตินก็เริ่มระบบวัดประจำท้องถิ่นอย่างคร่าวๆ
เมื่อปี ค.ศ. 371 มาร์ตินก็เป็นบาทหลวงของทัวร์ ผู้ซึ่งมีบทบาทในการสั่งให้ทำลายและเผาวัดนอกศาสนา การกระทำเช่นนี้ทำให้เราเห็นภาพว่าวัฒนธรรมดรูอิดยังมีรากฐานลึกกว่าวัฒนธรรมของโรมันที่มีเพียงผิวเผิน เช่นเมื่อนักบุญมาร์ตินสั่งให้ทำลายวัดโบราณของดรูอิดซึ่งอยู่กลางดงสน เมื่อทำลายวัดชาวบ้านก็มิได้ต่อต้านมากเท่าใด แต่เมื่อนักบุญมาร์ตินสั่งให้ตัดต้นไม้ชาวบ้านก็ประท้วงกัน (ซุลพิเชียส , “Vita” บทที่ xiii) ซุลพิเชียสกล่าวว่าหลังจากนั้นมาร์ตินก็ไปเมืองมาร์มูเตียร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มาร์ตินตั้งขึ้นอยู่บนฝั่งตรงข้ามกับเมืองทัวร์ จากที่นี่มาร์ตินก็เริ่มระบบวัดประจำท้องถิ่นอย่างคร่าวๆ


บรรทัด 52: บรรทัด 52:


{{birth|316}}{{death|397}}
{{birth|316}}{{death|397}}

[[หมวดหมู่:นักบุญ|มาร์ตินแห่งทัวร์]]
[[หมวดหมู่:นักบุญ|มาร์ตินแห่งทัวร์]]
[[หมวดหมู่:นักบุญชาวฮังการี|มาร์ตินแห่งทัวร์]]
[[หมวดหมู่:นักบุญชาวฮังการี|มาร์ตินแห่งทัวร์]]
บรรทัด 97: บรรทัด 98:
[[vls:Sinte-Moartn]]
[[vls:Sinte-Moartn]]
[[wa:Sint Mårtén]]
[[wa:Sint Mårtén]]
[[zh:都尔的马丁]]
[[zh:都尔的玛尔定]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:49, 8 เมษายน 2553

นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์
นักบุญมาร์แตงแห่งตูร์
นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์แบ่งเสื้อให้ยาจก
บาทหลวงและ Confessor
เกิดราวปี ค.ศ. 316 หรือ 317

บริเวณแพนโนเนีย
ในประเทศฮังการี
เสียชีวิต11 พฤศจิกายนปี ค.ศ. 397

เมืองคองเดส์
ซองมาร์แตงในประเทศฝรั่งเศส
นิกายนิกายโรมันคาทอลิก

นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์

นิกายลูเธอรัน
วันฉลอง11 พฤศจิกายน
สัญลักษณ์คนขี่ม้าผู้ยกเสื้อคลุมให้ขอทาน, คนตัดเสื้อคลุม, ลูกโลกมีไฟลุก, ห่าน
องค์อุปถัมภ์ปฏิปักษ์ต่อความยากจน, ปฏิปักษ์ต่อการติดสุรา, ขอทาน, บัวโนสไอเรส, ทหาร, ผู้แสดงการขึ่ม้า, ประเทศฝรั่งเศส, ห่าน, ม้า, เจ้าของโรงแรม, ช่างตัดเสื้อ, ผู้ทำไร่องุ่น, ผู้ทำเหล้าไวน์, และเมืองต่างๆ

นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์ หรือ นักบุญมาร์แตงแห่งตูร์ (ภาษาอังกฤษ: Martin of Tours; ภาษาฝรั่งเศส: Martin de Tours; ภาษาละติน: Martinus) ราวปี ค.ศ. 316 หรือ 317 ที่บริเวณแพนโนเนียในประเทศฮังการีปัจจุบัน และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายนปี ค.ศ. 397 ที่เมืองแคนเดสซองมาร์แตง เป็นบาทหลวงของเมืองทัวส์ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเมืองที่นักแสวงบุญที่เดินทางไปแสวงบุญที่ซานติอาโกเดอคอมโพสเตลลา ประเทศสเปนนิยมหยุดพัก ตำนานเกี่ยวกับนักบุญมาร์ตินมึด้วยกันหลายเรื่องจนเป็นนักบุญองค์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดีในนิกายโรมันคาทอลิก ตำนานบางอย่างก็ถูกบันทึกลงใน “vita” หรือชีวะประวัติของพระองค์เพื่อเพิ่มความน่าเลื่อมใสในลัทธินิยมนักบุญมาร์ติน ชีวะประวัติของพระองค์ถูกบันทึกโดยซุลพิเชียส เซเวรุส (Sulpicius Severus) ผู้เป็นนักเขียนวรรณกรรมนักบุญ มาร์ตินเป็นนักบุญผู้พิทักษ์ประเทศฝรั่งเศสและทหาร

ชีวิตเบื้องต้น

ชื่อของนักบุญมาร์ตินตั้งตาม “Mars” คือเทพเจ้าแห่งสงครามซึ่งเป็นเทพเจ้าโรมัน ซึ่งซุลพิเชียส เซเวรุสตีความหมายว่า “ผู้กล้าหาญ” นักบุญมาร์ตินเกิดที่เมืองซาวาเรีย บริเวณแพนโนเนีย ในประเทศฮังการีในปัจจุบัน พ่อของมาร์ตินเป็นเจ้าหน้าที่ชั้นสูงของทหารม้ารักษาพระองค์ซึ่งเป็นหน่วยหนึ่งของกองทัพจักรวรรดิโรมัน ซึ่งต่อมาถูกส่งตัวไปประจำการที่ทิซินุม (Ticinum) ในปัจจุบันคือบริเวณปาเวีย (Pavia) ในประเทศอิตาลีซึ่งเป็นที่ที่มาร์ตินเติบโต

พออายุได้ 10 ขวบมาร์ตินก็ไปวัดทั้งๆ ที่ขัดกับความประสงค์ของพ่อแม่และถูกเลือกให้รับศึลจุ่ม เมื่อปี ค.ศ. 316คริสต์ศาสนาเป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันแล้ว แต่ยังไม่เป็นศาสนาที่เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายเท่าทางอาณาจักรโรมันตะวันออก การเผยแพร่ศาสนาทางอาณาจักรโรมันตะวันตกก็มากับชาวยิวและชาวกรีกที่เข้ารึตที่มาทำการค้าขาย แต่ศาสนาคริสต์ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรับกันในหมู่ชาวโรมันชั้นสูงและในบรรดาทหาร ซึ่งจะนิยมลัทธินิยม “ไมธราส” มากกว่า ถึงแม่ว่าจักรพรรดิคอนแสตนตินที่ 1เองจะทรงเปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนาและทรงสนับสนุนการสร้างวัดโดยทั่วไปเพื่อเผยแพร่ศาสนา แต่คริสต์ศาสนาในขณะนั้นก็ยังเป็นศาสนาที่นับถือกันในกลุ่มของชนส่วนน้อย เมื่ออายุได้สิบห้าปีมาร์ตินก็ต้องเข้าเป็นทหารม้าเพราะพ่อเคยรับราชการมาก่อนและถูกส่งตัวไป “Ambianensium civitas” ซึ่งในปัจจุบันคือเมืองอาเมียงในประเทศฝรั่งเศส

ตำนานเสื้อคลุม

“ความมีกุศลของนักบุญมาร์ติน”
โดย ฌอง โฟเคท์ (Jean Fouquet)
“นักบุญมาร์ตินและขอทาน” โดยเอล เกรโก (El Greco), ประมาณ ค.ศ. 1597-1599 ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี.

ขณะที่มาร์ตินยังเป็นทหารอยู่ที่เมืองอาเมียงท่านก็มีวิสัยทัศน์ในภาพชีวิตของท่านเองครั้งแล้วครั้งเล่า ภาพที่เห็นคือท่านจะยืนอยู่หน้าประตูเมืองอาเมียงกับทหารเมื่อท่านเห็นขอทาน ท่านก็ตัดสินใจทันทีโดยตัดเสื้อคลุมทหารที่ท่านใส่อยู่เป็นครึ่งแล้วยกครึ่งหนึ่งให้กับขอทาน พอตกกลางคืนท่านก็ฝันเห็นพระเยซูใส่เสื้อคลุมครึ่งตัวที่ท่านตัดให้ขอทาน และได้ยินพระเยซูกล่าวกับเทวดาว่า “นี่คือมาร์ติน, ทหารโรมันผู้ที่ยังมิได้รับศีลจุ่ม; เขาให้เสื้อฉันใส่” [1] อีกเรื่องหนึ่งกล่าวว่าเมื่อมาร์ตินตื่นขึ้นมาเสื้อที่ตัดไปกลับมาเป็นเสื้อคลุมเต็มตัวตามเดิม เสื้อคลุมศักดิ์สิทธิ์ตัวนี้ก็เก็บรักษาไว้เป็นส่วนหนึ่งของสมบัตืวัตถุมงคลของพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เมโรวิงเจียนซึ่งเป็นพระเจ้าแผ่นดินของชนแฟรงก์ต่อมา

ความฝันทำให้มาร์ตินรู้ตัวว่าตนเองเป็นผู้มีความมีศรัทธาแก่กล้าต่อคริสต์ศาสนา จึงได้ทำการรับศีลจุ่มเมื่ออายุได้ 18 ปี[2] มาร์ตินเป็นทหารต่อมาอีกสองปีจนกระทั่งเกิดสงครามกับพวกกอล (Gauls) ที่เมืองเวิร์มส์ในประเทศเยอรมันนีเมื่อ ค.ศ. 336 มาร์ตินก็ไม่ยอมต่อสู้เพราะมีความเชื่อว่าความเชื่อในคริสต์ศาสนาเป็นการยับยังไม่ให้ต่อสู้ มา มาร์ตินกล่าวว่า “ข้าเป็นทหารของพระเยซู ข้าไม่สามารถทำการต่อสู้ได้” มาร์ตินจึงถูกกล่าวหาว่าขึ้ขลาดและถูกจำคุกแต่เพี่อเป็นการแสดงว่าพระองค์มืได้มีความขี้ขลาดอย่างที่ถูกกล่าวหา ท่านก็ทรงอาสาออกไปปรากฏตัวต่อหน้าศตรูโดยไม่พกอาวุธ นายทหารก็เกือบจะให้นักบุญมาร์ตินทำอย่างที่อาสา แต่ข้าศึกก็มาขอสงบศึกเสียก่อนที่มาร์ตินจะได้แสดงความกล้าหาญอย่างที่กล่าว หลังจากนั้นมาร์ตินก็ถูกปลดประจำการ[3]

หลังจากนั้นมาร์ตินก็ประกาศตนเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเดินทางไปเมืองทัวร์เพื่อไปเป็นสาวกของนักบุญฮิลารีแห่งปอยเตียร์ (Hilary of Poitiers) ผู้เป็นผู้สนับสนุนปรัชญาตรีเอกภาพ (Trinitarian) และเป็นปฏิปักษ์ต่อปรัชญาทวิเอกภาพ หรือ ลัทธิเอเรียนิสม์ (Arianism) ของขุนนางชาววิสิกอธ (Visigoth) เมื่อนักบุญฮิลารีถูกขับออกจากเมืองปอยเตียร์ มาร์ตินก็กลับไปอิตาลี ระหว่างทางนักบุญมาร์ตินก็ชักชวนคนเข้ารีตไปด้วยตามคำของซุลพิเชียส เซเวรุส ขณะเดียวกันก็ผจญปีศาจ เมื่อกลับมาจากอิลลิเรีย (Illyria) ซึ่งอยู่ในบริเวณคาบสมุทรบัลคานในปัจจุบันนักบุญมาร์ตินก็ต้องเผชิญหน้ากับอ็อกเซ็นเทียส (Auxentius) ผู้เป็นอาร์ชบิชอบแห่งมิลาน ผู้นับถือลัทธิเอเรียนิสมผู้ไล่มาร์ตินออกจากเมือง ตามตำนานก็ว่ามาร์ตินไปหาที่หลบภัยที่เกาะกาลลินาเรีย (Gallinaria) ซึ่งปัจจุบันคือเกาะอัลเบนยา (Isola d'Albenga) ในทะเลไทเรเนียน (Tyrrhenian Sea) ซึ่งเป็นที่ที่มาร์ตินใช้ชีวิตอย่างสันโดษ

โจมตีผู้นับถือลัทธิเอเรียนิสม์

เมื่อนักบุญฮิลารีกลับมาเมื่อ ค.ศ. 361 ก็ร่วมกับมาร์ตินในการก่อสร้างสำนักสงฆ์ที่ต่อมาเป็นสำนักสงฆ์ลัทธิเบ็นนาดิคตินลิกูจ์ (Ligugé Abbey) ซึ่งกลายมาเป็นสถานที่สำคัญในการสอนศาสนาของบริเวณนั้น นักบุญมาร์ตินก็เดินทางไปทั้งด้านตะวันตกของกอลเพื่อเผยแพร่ศาสนา “รายละเอียดของการเดินทางเผยแพร่ศาสนายังเหลือให้เราทราบตามตำนานที่มาร์ตินเป็นผู้มีบทบาทซึ่งทำให้เราเห็นแผนการเดินทางอย่างคร่าวๆ” (Catholic Encyclopedia)

ไฟล์:Martin-Tours.jpg
นักบุญมาร์ตินเป็นบาทหลวง ไอคอนสมัยใหม่ ที่สำนักสงฆ์อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ทีโทโคส ที่แคนโทค ประเทศศฝรั่งเศส

เมื่อปี ค.ศ. 371 มาร์ตินก็เป็นบาทหลวงของทัวร์ ผู้ซึ่งมีบทบาทในการสั่งให้ทำลายและเผาวัดนอกศาสนา การกระทำเช่นนี้ทำให้เราเห็นภาพว่าวัฒนธรรมดรูอิดยังมีรากฐานลึกกว่าวัฒนธรรมของโรมันที่มีเพียงผิวเผิน เช่นเมื่อนักบุญมาร์ตินสั่งให้ทำลายวัดโบราณของดรูอิดซึ่งอยู่กลางดงสน เมื่อทำลายวัดชาวบ้านก็มิได้ต่อต้านมากเท่าใด แต่เมื่อนักบุญมาร์ตินสั่งให้ตัดต้นไม้ชาวบ้านก็ประท้วงกัน (ซุลพิเชียส , “Vita” บทที่ xiii) ซุลพิเชียสกล่าวว่าหลังจากนั้นมาร์ตินก็ไปเมืองมาร์มูเตียร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มาร์ตินตั้งขึ้นอยู่บนฝั่งตรงข้ามกับเมืองทัวร์ จากที่นี่มาร์ตินก็เริ่มระบบวัดประจำท้องถิ่นอย่างคร่าวๆ

อ้างอิง

  1. Sulpicius, ch 2
  2. Patron Saints Index: Saint Martin of Tours
  3. Kurlansky, Mark (2006). Nonviolence: twenty-five lessons from the history of a dangerous idea. Pp 26-27.

ดูเพิ่ม