ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องเคลือบดินเผาไมเซิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zince (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


=== ประวัติ ===
=== ประวัติ ===
เซรามิกเริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในทวีป[[ยุโรป]]ตั้งแต่ช่วง[[ศตวรรษที่ 13]] โดยมีการนำเข้าผลิตภัณฑ์เซรามิก หรือ [[กังไส]] จากประเทศ[[จีน]] ซึ่ง ณ ขณะนั้นถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีค่ามาก จนกระทั่งต้นศตวรรษที่ 18 จึงได้มีการเริ่มผลิต ผลิตภัณฑ์เซรามิก เลียนแบบผลิตภัณฑ์ของนำเข้าจากประเทศจีนขึ้นที่เมือง[[ไมเซน]] ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของอุตสาหกรรมเซรามิกในทวีปยุโรป ผู้ร่วมก่อตั้งโรงงานผลิตภัณฑ์เซรามิก ประกอบด้วย โยฮานน์ ฟรีดริช บึตต์เกอร์ ([[Johann Friedrich Böttger]]) เอียเรนฟริด วาลเธอร์ แห่งเทชียร์นเฮาส์ ([[Ehrenfried Walther]] von Tschirnhaus) ก๊อตต์ฟริด พาบสต์ แห่งโอฮาอิน ([[Gottfried Pabst]] von Ohain) เจ้าพนักงานเหมืองแร่จาก[[ไฟรบวร์ก]] และผู้เชี่ยวชาญด้านเหมืองเหล็กอีกหลายท่าน โดยผลิตภัณฑ์โดยส่วนใหญ่ อยู่ภายใต้การสนับสนุนของ เอากุสตุส ที่ 2 ผู้เข้มแข็ง (Augustus II "the Strong") กษัตริย์ประเทศ[[โปแลนด์]] ซึ่งเป็นบุตรชายเจ้าผู้ครองสหพันธรัฐ[[แซกโซนี]] ณ ขณะนั้น และในปี [[ค.ศ. 1708]] ผลิตภัณฑ์เซรามิกของยุโรปชิ้นแรก ก้ได้ปรากฎสู่สายตาชาวโลก ภายใต้การควบคุมดูแลของโยฮานน์ ฟรีดริช บึตต์เกอร์
เซรามิกเริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในทวีป[[ยุโรป]]ตั้งแต่ช่วง[[ศตวรรษที่ 13]] โดยมีการนำเข้าผลิตภัณฑ์เซรามิก หรือ [[กังไส]] จากประเทศ[[จีน]] ซึ่ง ณ ขณะนั้นถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีค่ามาก จนกระทั่งต้นศตวรรษที่ 18 จึงได้มีการเริ่มผลิต ผลิตภัณฑ์เซรามิก เลียนแบบผลิตภัณฑ์ของนำเข้าจากประเทศจีนขึ้นที่เมือง[[ไมเซน]] ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของอุตสาหกรรมเซรามิกในทวีปยุโรป ผู้ร่วมก่อตั้งโรงงานผลิตภัณฑ์เซรามิก ประกอบด้วย โยฮานน์ ฟรีดริช บึตต์เกอร์ ([[Johann Friedrich Böttger]]) เอียเรนฟริด วาลเธอร์ แห่งเทชียร์นเฮาส์ ([[Ehrenfried Walther]] von Tschirnhaus) ก๊อตต์ฟริด พาบสต์ แห่งโอฮาอิน ([[Gottfried Pabst]] von Ohain) เจ้าพนักงานเหมืองแร่จาก[[ไฟรบวร์ก]] และผู้เชี่ยวชาญด้านเหมืองเหล็กอีกหลายท่าน โดยผลิตภัณฑ์โดยส่วนใหญ่ อยู่ภายใต้การสนับสนุนของ เอากุสตุส ที่ 2 ผู้เข้มแข็ง (Augustus II "the Strong") กษัตริย์ประเทศ[[โปแลนด์]] ซึ่งเป็นบุตรชายเจ้าผู้ครองสหพันธรัฐ[[แซกโซนี]] ณ ขณะนั้น และในปี [[ค.ศ. 1708]] ผลิตภัณฑ์เซรามิกของยุโรปชิ้นแรก ก้ได้ปรากฏสู่สายตาชาวโลก ภายใต้การควบคุมดูแลของโยฮานน์ ฟรีดริช บึตต์เกอร์


=== ลำดับเหตุการณ์สำคัญ ===
=== ลำดับเหตุการณ์สำคัญ ===
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
* [[ค.ศ. 2010]] บริษัทครบรอบ 300 ปีของการก่อตั้ง
* [[ค.ศ. 2010]] บริษัทครบรอบ 300 ปีของการก่อตั้ง


== ดูเพิ่มเติม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ไมเซน]]
* [[ไมเซน]]
* [[เซรามิก]]
* [[เซรามิก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:38, 25 มิถุนายน 2552

ผลิตภัณฑ์เซรามิกไมเซน (อังกฤษ: Meissen porcelain) ได้เริ่มผลิตเป็นอุตสาหกรรมตั้งแต่ ค.ศ. 1710 ซึ่งถือว่าเป็นยุคเริ่มแรกของอุตสาหกรรมเซรามิกของยุโรป และปัจจุบันยังคงรักษาความเป็นผลงานhandmade ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ผลิตภัณฑ์เซรามิกไมเซน ไม่ได้เป็นเพียงแค่ภาชนะ หรือเครื่องประดับ แต่เป็นผลงานทางศิลปะที่ถูกออกแบบมาอย่างปราณีต ปัจจุบันนอกจากบริษัทจะดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกแล้ว ยังได้จัดทำพิพิธภัณฑ์เพื่อจัดแสดงผลงานผลิตภัณฑ์เซรามิก อันเป็นเอกลักษณ์ และเป็นผลิตภัณฑ์อันลือชื่อ ไม่เพียงแต่สำหรับเมืองไมเซน สหพันธรัฐแซกโซนี หรือประเทศเยอรมนี แต่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงอันดับโลก

ประวัติ และลำดับเหตุการณ์สำคัญ

ประวัติ

เซรามิกเริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในทวีปยุโรปตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 13 โดยมีการนำเข้าผลิตภัณฑ์เซรามิก หรือ กังไส จากประเทศจีน ซึ่ง ณ ขณะนั้นถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีค่ามาก จนกระทั่งต้นศตวรรษที่ 18 จึงได้มีการเริ่มผลิต ผลิตภัณฑ์เซรามิก เลียนแบบผลิตภัณฑ์ของนำเข้าจากประเทศจีนขึ้นที่เมืองไมเซน ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของอุตสาหกรรมเซรามิกในทวีปยุโรป ผู้ร่วมก่อตั้งโรงงานผลิตภัณฑ์เซรามิก ประกอบด้วย โยฮานน์ ฟรีดริช บึตต์เกอร์ (Johann Friedrich Böttger) เอียเรนฟริด วาลเธอร์ แห่งเทชียร์นเฮาส์ (Ehrenfried Walther von Tschirnhaus) ก๊อตต์ฟริด พาบสต์ แห่งโอฮาอิน (Gottfried Pabst von Ohain) เจ้าพนักงานเหมืองแร่จากไฟรบวร์ก และผู้เชี่ยวชาญด้านเหมืองเหล็กอีกหลายท่าน โดยผลิตภัณฑ์โดยส่วนใหญ่ อยู่ภายใต้การสนับสนุนของ เอากุสตุส ที่ 2 ผู้เข้มแข็ง (Augustus II "the Strong") กษัตริย์ประเทศโปแลนด์ ซึ่งเป็นบุตรชายเจ้าผู้ครองสหพันธรัฐแซกโซนี ณ ขณะนั้น และในปี ค.ศ. 1708 ผลิตภัณฑ์เซรามิกของยุโรปชิ้นแรก ก้ได้ปรากฏสู่สายตาชาวโลก ภายใต้การควบคุมดูแลของโยฮานน์ ฟรีดริช บึตต์เกอร์

ลำดับเหตุการณ์สำคัญ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. เว็บไซด์หลักของบริษัท
  2. เว็บไซด์หลักของบริษัท