ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซ โชนางง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ภาพ:Hyakuninisshu 062.jpg|thumb|250px|''เซ โชนะงน'' ภาพประกอบจาก ''เฮียะคุนิงนิชชู'']]
[[ภาพ:Hyakuninisshu 062.jpg|thumb|250px|''เซ โชนะงน'' ภาพประกอบจาก ''เฮียะคุนิงนิชชู'']]


'''เซ โชนะงน''' (清少納言,Sei Shōnagon ), (ค.ศ. 966-1017)เป็นกวีหญิงชาวญี่ปุ่นผู้ประพันธ์รวมบทความชื่อ [[มะคุระโนะโซชิ]] (枕草子, makura no sōshi,The Pillow Book)- ''หนังสือข้างหมอน '' และเป็นนางในราชสำนักสมัยกลาง[[ยุคเฮอัน]]( ราว ค.ศ. 1000 ) ถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิ หรือ ซะดะโกะ และเป็นกวีหญิงร่วมสมัยเดียวกับ [[มุระซะกิ ชิคิบุ]]
'''เซ โชนะงน''' (清少納言,Sei Shōnagon ), (ค.ศ. 966-1017)เป็นกวีหญิงชาวญี่ปุ่นผู้ประพันธ์รวมบทความชื่อ [[มะคุระโนะโซชิ]] (枕草子, makura no sōshi,The Pillow Book)- ''หนังสือข้างหมอน '' และเป็นนางในราชสำนักสมัยกลาง[[ยุคเฮอัน]] ถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิ หรือ ซะดะโกะ และเป็นกวีหญิงร่วมสมัยเดียวกับ [[มุระซะกิ ชิคิบุ]]


ยังไม่เป็นที่ปรากฏว่าชื่อจริงของ'' เซ โชนะงน'' ชื่ออะไร คำเรียกขานว่า เซ โชนะงน มาจากธรรมเนียมหลีกเลี่ยงการเรียกชื่อจริงของสตรีชั้นสูง โดยจะเรียกชื่อแทนตัวจาก ยศ ตำแหน่ง ส่วนหนึ่งของชื่อจริง หรือไม่ก็เรียกตามยศของญาติทางฝ่ายชาย สันนิษฐานกันว่า
ยังไม่เป็นที่ปรากฏว่าชื่อจริงของ'' เซ โชนะงน'' ชื่ออะไร คำเรียกขานว่า เซ โชนะงน มาจากธรรมเนียมหลีกเลี่ยงการเรียกชื่อจริงของสตรีชั้นสูง โดยจะเรียกชื่อแทนตัวจาก ยศ ตำแหน่ง ส่วนหนึ่งของชื่อจริง หรือไม่ก็เรียกตามยศของญาติทางฝ่ายชาย สันนิษฐานกันว่า
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
หลักฐานรายละเอียดของชีวประวัติของเธอที่นอกเหนืองานเขียนของเธอเอง มีอยู่น้อยมาก กล่าวว่า เธอเป็นบุตรีของ คิโยะฮะระ โนะ โมะโตะสุเกะ (Kiyohara no Motosuke) นักปราชญ์และกวีแบบวะกะ ที่มีชื่อเสียง ปู่ของเธอคือ คิโยะฮะระ โนะ ฟุคุยะบุ (Kiyohara no Fukayabu) กวีชื่อชื่อดัง แต่พวกเขาก็เป็นเพียงขุนนางชั้นกลางเท่านั้น
หลักฐานรายละเอียดของชีวประวัติของเธอที่นอกเหนืองานเขียนของเธอเอง มีอยู่น้อยมาก กล่าวว่า เธอเป็นบุตรีของ คิโยะฮะระ โนะ โมะโตะสุเกะ (Kiyohara no Motosuke) นักปราชญ์และกวีแบบวะกะ ที่มีชื่อเสียง ปู่ของเธอคือ คิโยะฮะระ โนะ ฟุคุยะบุ (Kiyohara no Fukayabu) กวีชื่อชื่อดัง แต่พวกเขาก็เป็นเพียงขุนนางชั้นกลางเท่านั้น


เมื่ออายุได้ 27 ปี เธอแต่งงานกับทะจิบะนะ โนะริมิตสึ (Tachibana Norimitsu)เมื่ออายุ 16 ปี และมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน หลังจากนั้น ธอแต่งงานใหม่กับ ฟุจิวะระ มุเนะโยะ ( Fujiwara Muneyo) และมีบุตรีให้เขา เธอเริ่มเข้าถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิในพระจักรพรรดิอิจิโจ ( Ichijō ) และหย่าขาดกับสามี
เมื่ออายุได้ 27 ปี เธอแต่งงานกับทะจิบะนะ โนะริมิตสึ (Tachibana Norimitsu)เมื่ออายุ 16 ปี และมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน หลังจากนั้น เธอแต่งงานใหม่กับ ฟุจิวะระ มุเนะโยะ ( Fujiwara Muneyo) และมีบุตรีให้เขา ราวปี ค.ศ 990 เธอเริ่มเข้าถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิบุตรีของฟุจิวะระ มิจิทะกะ ( Fujiwara Michitaka) จักรพรรดินีในพระจักรพรรดิอิจิโจ ( Ichijō ) และหย่าขาดกับสามี ตำหนักของจักรพรรดินีเทชิในเวลานั้น กลายเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมทางวัฒนธรรมในราชสำนักเฮอัน


'''เซ โชนะงน''' มีชื่อเสียงจาก [[มะคุระโนะโซชิ]] งานเขียนที่รวบรวมบทความเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ทั้งเรื่องฤดูกาล เรื่องซุบซิบ บทร้อยกรอง การสังเกตการณ์ในเรื่องต่างๆ การบ่นเรื่องที่ไม่ชอบ และ เรื่องราวที่เธอคิดว่าสนุกสนานน่าสนใจ ระหว่างช่วงเวลาที่เธอทำงานในราชสำนัก
'''เซ โชนะงน''' มีชื่อเสียงจาก [[มะคุระโนะโซชิ]] งานเขียนที่รวบรวมบทความเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ทั้งเรื่องฤดูกาล เรื่องซุบซิบ บทร้อยกรอง การสังเกตการณ์ในเรื่องต่างๆ การบ่นเรื่องที่ไม่ชอบ และ เรื่องราวที่เธอคิดว่าสนุกสนานน่าสนใจ ระหว่างช่วงเวลาที่เธอทำงานในราชสำนัก


ใน [[มะคุระโนะโซชิ]] ยังเขียนถึง เหตุการณ์วิกฤตของจักรพรรดินีเทชิ เมื่อขาดคนมีอำนาจหนุนหลัง หลังจากบิดาเสียชีวิตและพี่ชายถูกเนรเทศ โดยศัตรูทางการเมืองคนสำคัญ อาของเธอ ฟุจิวะระ มิจินะงะ ยังได้ส่งบุตรีของเขา โชชิ หรือ อะคิโกะ เข้ามาเป็นพระชายาของจักรพรรดิอิจิโจ
ใน [[มะคุระโนะโซชิ]] ยังเขียนถึง เหตุการณ์วิกฤตของจักรพรรดินีเทชิ เมื่อขาดคนมีอำนาจหนุนหลัง หลังจากบิดาเสียชีวิตและพี่ชายถูกเนรเทศ โดยศัตรูทางการเมืองคนสำคัญ อาของเธอ ฟุจิวะระ มิจินะงะ รวบอำนาจการปกครองในราชสำนักไว้ในมือ ยังได้ส่งบุตรีของเขา โชชิ หรือ อะคิโกะ เข้ามาเป็นพระชายาของจักรพรรดิอิจิโจ


ด้วยมีเหตุเพลิงใหม้พระราชวังเฮอันบ่อยครั้ง จักรพรรดิเทชิจึงถูกส่งไปพำนักชั่วคราวขณะก่อสร้างพระราชวังใหม่ที่ที่ประทับสำหรับจักรพรรดินีนอกพระราชฐาน ''เซ โชนะงน '' บันทึกไว้ว่า จักรพรรดินีเทชิ เจ้านายของเธอเสียชีวิตจาการคลอดบุตรในปี ค.ศ.1000 ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับชีวิตของเซ โชนะงน หลังปี ค.ศ. 1001 เซ โชนะงน เริ่มเขียน มะคุระโนโซชิ ในราชสำนักและเขียนจนจบหลังจากการเสียชีวิตของจักรพรรดิเทชิ โดยสัญนิษฐานว่า อาจจะเขียนจบในปลายปี ค.ศ. 1010 ซึ่งอาจจะเพื่อเป็นของขวัญให้พระธิดาของจักรพรรดินีเทชิ โดยงานเขียนในมะคุระโนะโซชิ จะเขียนถึงบรรยาการอันสนุกสนานหรูหราในวังของจักรพรรดิสาวเป็นส่วนใหญ่ <ref>[http://home.infionline.net/~ddisse/shonagon.html" Sei Shōnagon "]. [[Other Women's Voices]].</ref>


ด้วยมีเหตุเพลิงใหม้พระราชวังเฮอันบ่อยครั้ง จักรพรรดิเทชิจึงถูกส่งไปพำนักชั่วคราวขณะก่อสร้างพระราชวังใหม่ที่ที่ประทับสำหรับจักรพรรดินีนอกพระราชฐาน ''เซ โชนะงน '' บันทึกไว้ว่า จักรพรรดินีเทชิ เจ้านายของเธอเสียชีวิตจาการคลอดบุตรในปี ค.ศ.1000 แต่โดยรวมแล้ว งานเขียนในมะคุระโนะโซชิ จะเขียนถึงบรรยาการอันสนุกสนานหรูหราในวังของจักรพรรดิสาวเป็นส่วนใหญ่


เช โชนะงน ยังเป็นที่รู้กันทั่วไปว่า เป็นคู่แข่งคนสำคัญของ กวีหญิงร่วมสมัย [[มุระซะกิ ชิคิบุ]] ผู้ประพันธ์ [[ตำนานเก็นจิ]] อีกทั้งยังถวายการรับใช้จักรพรรดินีโซชิ ผู้เป็นศัตรูทางการเมืองของจักรพรรดินีเทชิ มุระซะกิ ชิคิบุ ได้เขียนถึง'' เซ โชนะงน'' ในบันทึกของเธอ ( มุระซะกิโนะนิกกิ )อีกด้วย<ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/Sei_Sh%C5%8Dnagon" Sei Shōnagon "]. [[วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ]].</ref>
เช โชนะงน ยังเป็นที่รู้กันทั่วไปว่า เป็นคู่แข่งคนสำคัญของ กวีหญิงร่วมสมัย [[มุระซะกิ ชิคิบุ]] ผู้ประพันธ์ [[ตำนานเก็นจิ]] อีกทั้งยังถวายการรับใช้จักรพรรดินีโซชิ ผู้เป็นศัตรูทางการเมืองของจักรพรรดินีเทชิ มุระซะกิ ชิคิบุ ได้เขียนถึง'' เซ โชนะงน'' ในบันทึกของเธอ ( มุระซะกิโนะนิกกิ )อีกด้วย<ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/Sei_Sh%C5%8Dnagon" Sei Shōnagon "]. [[วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ]].</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:47, 1 มีนาคม 2552

เซ โชนะงน ภาพประกอบจาก เฮียะคุนิงนิชชู

เซ โชนะงน (清少納言,Sei Shōnagon ), (ค.ศ. 966-1017)เป็นกวีหญิงชาวญี่ปุ่นผู้ประพันธ์รวมบทความชื่อ มะคุระโนะโซชิ (枕草子, makura no sōshi,The Pillow Book)- หนังสือข้างหมอน และเป็นนางในราชสำนักสมัยกลางยุคเฮอัน ถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิ หรือ ซะดะโกะ และเป็นกวีหญิงร่วมสมัยเดียวกับ มุระซะกิ ชิคิบุ

ยังไม่เป็นที่ปรากฏว่าชื่อจริงของ เซ โชนะงน ชื่ออะไร คำเรียกขานว่า เซ โชนะงน มาจากธรรมเนียมหลีกเลี่ยงการเรียกชื่อจริงของสตรีชั้นสูง โดยจะเรียกชื่อแทนตัวจาก ยศ ตำแหน่ง ส่วนหนึ่งของชื่อจริง หรือไม่ก็เรียกตามยศของญาติทางฝ่ายชาย สันนิษฐานกันว่า

เซ(清,Sei ) มาจากชื่อตระกูลคิโยะฮะระ (清原,Kiyohara)

โชนะงน (少納言,Shōnagon) เป็นชื่อตำแหน่งหนึ่งของขุนนางในอำมาตยสภา (Daijoukan)

ไม่มีหลักฐานว่าญาติคนใดของเธอได้ตำแหน่งโชนะงน บรรดานักวิชาการทั้งหลายสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นไปได้ที่ชื่อจริงของเธอคือ คิโยะฮะระ นะงิโกะ (清原 諾 子, Kiyohara Nagiko )

หลักฐานรายละเอียดของชีวประวัติของเธอที่นอกเหนืองานเขียนของเธอเอง มีอยู่น้อยมาก กล่าวว่า เธอเป็นบุตรีของ คิโยะฮะระ โนะ โมะโตะสุเกะ (Kiyohara no Motosuke) นักปราชญ์และกวีแบบวะกะ ที่มีชื่อเสียง ปู่ของเธอคือ คิโยะฮะระ โนะ ฟุคุยะบุ (Kiyohara no Fukayabu) กวีชื่อชื่อดัง แต่พวกเขาก็เป็นเพียงขุนนางชั้นกลางเท่านั้น

เมื่ออายุได้ 27 ปี เธอแต่งงานกับทะจิบะนะ โนะริมิตสึ (Tachibana Norimitsu)เมื่ออายุ 16 ปี และมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน หลังจากนั้น เธอแต่งงานใหม่กับ ฟุจิวะระ มุเนะโยะ ( Fujiwara Muneyo) และมีบุตรีให้เขา ราวปี ค.ศ 990 เธอเริ่มเข้าถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิบุตรีของฟุจิวะระ มิจิทะกะ ( Fujiwara Michitaka) จักรพรรดินีในพระจักรพรรดิอิจิโจ ( Ichijō ) และหย่าขาดกับสามี ตำหนักของจักรพรรดินีเทชิในเวลานั้น กลายเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมทางวัฒนธรรมในราชสำนักเฮอัน

เซ โชนะงน มีชื่อเสียงจาก มะคุระโนะโซชิ งานเขียนที่รวบรวมบทความเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ทั้งเรื่องฤดูกาล เรื่องซุบซิบ บทร้อยกรอง การสังเกตการณ์ในเรื่องต่างๆ การบ่นเรื่องที่ไม่ชอบ และ เรื่องราวที่เธอคิดว่าสนุกสนานน่าสนใจ ระหว่างช่วงเวลาที่เธอทำงานในราชสำนัก

ใน มะคุระโนะโซชิ ยังเขียนถึง เหตุการณ์วิกฤตของจักรพรรดินีเทชิ เมื่อขาดคนมีอำนาจหนุนหลัง หลังจากบิดาเสียชีวิตและพี่ชายถูกเนรเทศ โดยศัตรูทางการเมืองคนสำคัญ อาของเธอ ฟุจิวะระ มิจินะงะ รวบอำนาจการปกครองในราชสำนักไว้ในมือ ยังได้ส่งบุตรีของเขา โชชิ หรือ อะคิโกะ เข้ามาเป็นพระชายาของจักรพรรดิอิจิโจ


ด้วยมีเหตุเพลิงใหม้พระราชวังเฮอันบ่อยครั้ง จักรพรรดิเทชิจึงถูกส่งไปพำนักชั่วคราวขณะก่อสร้างพระราชวังใหม่ที่ที่ประทับสำหรับจักรพรรดินีนอกพระราชฐาน เซ โชนะงน บันทึกไว้ว่า จักรพรรดินีเทชิ เจ้านายของเธอเสียชีวิตจาการคลอดบุตรในปี ค.ศ.1000 ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับชีวิตของเซ โชนะงน หลังปี ค.ศ. 1001 เซ โชนะงน เริ่มเขียน มะคุระโนโซชิ ในราชสำนักและเขียนจนจบหลังจากการเสียชีวิตของจักรพรรดิเทชิ โดยสัญนิษฐานว่า อาจจะเขียนจบในปลายปี ค.ศ. 1010 ซึ่งอาจจะเพื่อเป็นของขวัญให้พระธิดาของจักรพรรดินีเทชิ โดยงานเขียนในมะคุระโนะโซชิ จะเขียนถึงบรรยาการอันสนุกสนานหรูหราในวังของจักรพรรดิสาวเป็นส่วนใหญ่ [1]


เช โชนะงน ยังเป็นที่รู้กันทั่วไปว่า เป็นคู่แข่งคนสำคัญของ กวีหญิงร่วมสมัย มุระซะกิ ชิคิบุ ผู้ประพันธ์ ตำนานเก็นจิ อีกทั้งยังถวายการรับใช้จักรพรรดินีโซชิ ผู้เป็นศัตรูทางการเมืองของจักรพรรดินีเทชิ มุระซะกิ ชิคิบุ ได้เขียนถึง เซ โชนะงน ในบันทึกของเธอ ( มุระซะกิโนะนิกกิ )อีกด้วย[2]

ศึกษาเพิ่มเติม

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เซ โชนะงน

อ้างอิง

  1. " Sei Shōnagon ". Other Women's Voices.
  2. " Sei Shōnagon ". วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ.