ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูเอชเอฟ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ยูเอชเอฟในการสื่อสาร ==
== ยูเอชเอฟในการสื่อสาร ==
ยูเอชเอฟ เป็นคลื่นความถี่ที่ใช้คู่ขนานกับระบบ [[วีเอชเอฟ]] ของเครื่องส่งโทรทัศน์และเสาส่งระบบอนาล็อค และอาจจะเป็นคลื่นความถี่ที่ถูกบังคับให้ส่งสัญญาณของโทรทัศน์ระบบดิจิตอล คาดว่าทั่วโลกจะต้องเปลี่ยนแปลงมาเป็นทีวีดิจิตอลให้แล้วเสร็จภายในปี [[พ.ศ. 2559]]
{{โครงส่วน}}


== ยูเอชเอฟในวิทยุกระจายเสียง ==
== ยูเอชเอฟในวิทยุกระจายเสียง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:28, 28 พฤศจิกายน 2551

ยูเอชเอฟ (UHF) เป็นคลื่นความถี่สูงยิ่ง (Ultra-High Frequency) เริ่มมีขึ้นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2491

ยูเอชเอฟในการสื่อสาร

ยูเอชเอฟ เป็นคลื่นความถี่ที่ใช้คู่ขนานกับระบบ วีเอชเอฟ ของเครื่องส่งโทรทัศน์และเสาส่งระบบอนาล็อค และอาจจะเป็นคลื่นความถี่ที่ถูกบังคับให้ส่งสัญญาณของโทรทัศน์ระบบดิจิตอล คาดว่าทั่วโลกจะต้องเปลี่ยนแปลงมาเป็นทีวีดิจิตอลให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2559

ยูเอชเอฟในวิทยุกระจายเสียง

ยูเอชเอฟในวิทยุโทรทัศน์

ในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟ มีช่วงเลขประจำช่อง ระหว่าง 14-83 (47-890 เมกะเฮิร์ทซ์)

ส่วนในประเทศไทย สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เริ่มดำเนินโครงการ สถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟ เมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยมีการเปิดประมูลรับสัมปทาน เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2538 โดย กลุ่มสยามทีวีแอนด์คอมมิวนิเคชั่น (แปรรูปเป็น บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด เมื่อได้รับอนุมัติสัมปทานแล้ว และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541) เป็นผู้ได้รับอนุมัติสัมปทานดังกล่าว โดยใช้ชื่อสถานีว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ITV-Independent Television) นับเป็น สถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟแห่งแรกของประเทศไทย แพร่ภาพออกอากาศทางช่อง 29 โดยมีอายุสัมปทาน 30 ปี เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และได้เปลี่ยนแปลงเป็น สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในปี 2550 และ สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย ตามลำดับ ในปี 2551