ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรน์ลันท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
* [[แม่น้ำไรน์]]
* [[แม่น้ำไรน์]]


[[ang:Rīnland]]
[[ca:Renània]]
[[cs:Porýní]]
[[cy:Y Rheindir]]
[[da:Rheinland]]
[[de:Rheinland]]
[[en:Rhineland]]
[[en:Rhineland]]
[[eo:Rejnlando]]
[[es:Renania]]
[[fi:Reininmaa]]
[[fr:Rhénanie]]
[[gl:Renania]]
[[he:חבל הריין]]
[[ja:ラインラント]]
[[ksh:Rhingland]]
[[la:Rhenania]]
[[lt:Reino žemė]]
[[ml:റൈന്‍ലാന്‍ഡ്]]
[[mr:र्‍हाइनलँड]]
[[nl:Rijnland (Duitsland)]]
[[no:Rhinland]]
[[pl:Nadrenia]]
[[pt:Renânia]]
[[ro:Renania]]
[[sv:Rhenlandet]]
[[zh:莱茵兰]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:03, 15 มิถุนายน 2551

ไรน์แลนด์ (ภาษาเยอรมัน: Rheinland) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกดินแดนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไรน์ ในเยอรมนีตะวันตก หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิฝรั่งเศสในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 แคว้นไรน์แลนด์เป็นแคว้นที่มีประชากรพูดภาษาเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนล่างของแม่น้ำไรน์ ซึ่งเคยถึงผนวกเข้ากับอาณาจักรปรัสเซีย กษัตริย์แห่งปรัสเซียได้เปลี่ยนชื่อแคว้นใหม่ว่า มณฑลไรน์ (หรือ Rhenish Prussia) หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภาคตะวันตกของแคว้นไรน์แลนด์ถูกยึดครองโดยกองทัพมหาอำนาจไตรภาคียึดครอง ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ เยอรมนีได้รับแคว้นไรน์แลนด์คืนเมื่อปี 1936

ภูมิศาสตร์

อาณาเขตของแคว้นไรน์แลนด์แสดงเป็นสีเหลือง

แคว้นไรน์แลนด์นั้นตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของเยอรมนี และมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศฝรั่งเศส ลักซ์เซมเบิร์ก เบลเยี่ยมและเนเธอร์แลนด์ ลักษณะภูมิประเทศทางด้านใต้และด้านตะวันออกเป็นเขตเนินเขา และมีแม่น้ำไหลผ่าน แม่น้ำสองสายที่มีความสำคัญ คือ แม่น้ำไรน์และแม่น้ำโมเซล และทางเหนือมีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นรูร์

ความเกี่ยวข้องกับการเมือง

มณฑลไรน์ได้ถูกจัดตั้งเมื่อปี 1824 โดยการรวมตัวกันของแคว้นไรน์ตอนล่างกับแคว้นจวูลิช-คลีฟส์-เบิร์ก มีเมืองหลวงอยู่ที่โคเบรนซ์ มีประชากรอยู่อาศัยประมาณ 8 ล้านคนในปี 1939 ในปี 1920 แคว้นซาร์ได้ถูกแยกออกมาจากมณฑลไรน์ และอยู่ใต้การกำกับดูแลของสันนิบาตชาติ จนกระทั่งกองกำลังสันนิบาติชาติถอนกำลังออกไปเมื่อปี 1935

ประวัติศาสตร์

หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

ดูเพิ่ม