ข้ามไปเนื้อหา

พลังค์ (ยานอวกาศ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พลังค์
แบบจำลองของยานพลังค์
รายชื่อเก่าCOBRAS/SAMBA
ประเภทภารกิจกล้องโทรทรรศน์อวกาศ
ผู้ดำเนินการองค์การอวกาศยุโรป (อีเอสเอ)
COSPAR ID2009-026B
SATCAT no.34938
เว็บไซต์www.esa.int/planck
ระยะภารกิจPlanned: >15 months
Final: 4 ปี 5 เดือน 8 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตตาแล็สอาเลนียาสเปซ
มวลขณะส่งยาน1,950 kg (4,300 lb)[1]
มวลบรรทุก205 kg (452 lb)
ขนาดBody: 4.20 × 4.22 m (13.8 × 13.8 ft)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น14 May 2009, 13:12:02 UTC (2009-05-14UTC13:12:02)
จรวดนำส่งAriane 5 ECA
ฐานส่งGuiana Space Centre,
French Guiana
ผู้ดำเนินงานArianespace
เริ่มปฎิบัติงาน3 กรกฎาคม ค.ศ. 2009
สิ้นสุดภารกิจ
การกำจัดDecommissioned
ปิดการทำงาน23 ตุลาคม ค.ศ. 2013 12.10.27 น. เวลาสากลเชิงพิกัด
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิง Sun-Earth L2 orbit
(1,500,000 km / 930,000 mi)
ระบบวงโคจรLissajous
กล้องโทรทรรศน์หลัก
ชนิดGregorian
เส้นผ่านศูนย์กลาง1.9 × 1.5 m (6.2 × 4.9 ft)
ความยาวคลื่น300 µm – 11.1 mm (frequencies between 27 GHz and 1 THz)
Planck insignia
ESA astrophysics insignia for Planck
Gaia →
 

พลังค์ (อังกฤษ: Planck) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ดำเนินการโดยองค์การอวกาศยุโรป (อีเอสเอ) ตั้งแต่ ค.ศ. 2009 จนถึง ค.ศ. 2013 มีวัตถุประสงค์เพื่อทำแผนที่แอนไอโซทรอปีของรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ ในความถี่ไมโครเวฟและความถี่อินฟราเรดต่าง ๆ ด้วยความไวสูงและความละเอียดเชิงมุมต่ำ ภารกิจในครั้งนี้ประสบความสำเร็จอย่างมาก โดยมีผลการสำรวจซึ่งออกมาดีกว่าดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันขององค์การนาซา

ยานพลังค์เป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญสำหรับประเด็นต่าง ๆ ในด้านจักรวาลวิทยาและฟิสิกส์ดาราศาสตร์ โดยหนึ่งในวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อทดสอบทฤษฎีเกี่ยวกับเอกภพในช่วงต้น (early universe) และที่มาของโครงสร้างจักรวาล และยังเจาะลึกในเรื่ององค์ประกอบและต้นกำเนิดของเอกภพ เพื่อช่วยให้เข้าใจเกี่ยวกับหลักฟิสิกส์พื้นฐานซึ่งควบคุมสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The Planck space observatory is integrated on Ariane 5 for Arianespace's upcoming launch". Arianespace. 24 April 2009. สืบค้นเมื่อ 31 December 2013.