ข้ามไปเนื้อหา

พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา
ခွေးပါတီငါလိုးမကြံ့ဖွတ်
ชื่อย่อUSDP
ผู้ก่อตั้งเต้นเซน
ประธานThan Htay
เลขาธิการThet Naing Win
โฆษกNandar Hla Myint
รองประธานMyat Hein, Khin Yi
ก่อตั้ง8 มิถุนายน 2010 (14 ปีก่อน) (2010-06-08)
ก่อนหน้าUnion Solidarity and Development Association
ที่ทำการอำเภอแดะคินะตีริ, เนปยีดอ
อุดมการณ์ชาตินิยมพม่า[1]
ลัทธิคลั่งชาตินิยม[2][3]
ชาตินิยมอนุรักษ์นิยม[4]
อนุรักษนิยมทางสังคม[5]
จุดยืนฝ่ายขวาถึงขวาจัด[2][6]
สีเขียว
ที่นั่งในHouse of Nationalities
11 / 224
ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรพม่า
30 / 440
ที่นั่งในState and Regional Hluttaws
38 / 879
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
0 / 29
เว็บไซต์
www.usdp.org.mm
ธงประจำพรรค
การเมืองพม่า
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา (พม่า: ပြည်ထောင်စုကြံ့ခိုင်ရေးနှင့်ဖွံ့ဖြိုးရေးပါတီ; อังกฤษ: Union Solidarity and Development Party: USDP) หรือ ยูเอสดีพี เป็นพรรคการเมืองในพม่า ก่อตั้งโดยพลเอก เต้นเซน ได้รับการรับรองโดยคณะกรรมการการเลือกตั้งพม่า เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2010 โดยมีที่มาจาก สมาคมสหสามัคคีและการพัฒนา[7] (Union Solidarity and Development Association : USDA) ซึ่งเป็นสมาคมพลเรือนอาสาเพื่อการสังคมสงเคราะห์ ซึ่งก่อตั้งโดยสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ ภายใต้การนำของพลเอกอาวุโส ต้านชเว เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993

ผู้บริหารพรรคประกอบด้วยอดีตนายทหารหลายคนซึ่งดำรงตำแหน่งในคณะรัฐบาลทหารพม่า และได้ลาออกจากตำแหน่งเป็นพลเรือน ก่อนจะเข้ามาเป็นสมาชิกพรรค โดยมีเต้นเซนเป็นหัวหน้าพรรค ที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่กรุงเนปยีดอ[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Htet Naing Zaw (21 March 2018). "'You Can Label Us As Nationalist,' USDP Chairman Says". The Irrawaddy.
  2. 2.0 2.1 Khin Moh Moh Lwin and Myo Set Pai (20 November 2020). "Far-right Buddhist nationalist candidates among biggest losers in 2020 election". Myanmar Now. สืบค้นเมื่อ 23 November 2020.
  3. Internal Crisis Group (5 September 2017). "Buddhism and State Power in Myanmar". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  4. Haynes, Jeffrey (2019). The Routledge Handbook to Religion and Political Parties. Routledge.
  5. "Coup In Ranks Of Myanmar's Ruling Party Highlights Concern Over Suu Kyi". August 13, 2015.
  6. "Myanmar is ripe for third-party opposition". Lowy Institute for International Policy. 12 May 2017.
  7. พรรคการเมืองพม่า[ลิงก์เสีย] มติชน, 27 ตุลาคม 2553
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-25. สืบค้นเมื่อ 2010-12-02.