ข้ามไปเนื้อหา

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหรัฐ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหรัฐอเมริกา
ประธานJohn Bachtell
ก่อตั้งค.ศ. 1919 (1919)
ที่ทำการ235 W. 23rd Street, New York City, New York, 10011
หนังสือพิมพ์พีเพิลส์เวิลด์
ฝ่ายเยาวชนYoung Communist League (1920–2015)
สมาชิกภาพเพิ่มขึ้น ประมาณ 5,000 คน[1]
อุดมการณ์ยูโรคอมมิวนิสต์
สังคมนิยมเชิงวิทยาศาสตร์
มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์[2]
จุดยืนซ้ายจัด[3]
กลุ่มระดับสากลการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคแรงงานระหว่างประเทศ
ที่นั่งในวุฒิสถา
0 / 100
ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร
0 / 435
Governorships
0 / 50
State Upper Houses
0 / 1,972
State Lower Houses
0 / 5,411
เว็บไซต์
www.cpusa.org
การเมืองสหรัฐ
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: Communist Party of the United States of America; อักษรย่อ: CPUSA) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์ของสหรัฐอเมริกา[4] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1919 หลังจากที่แยกตัวจาก พรรคสังคมนิยมอเมริกา โดยเป็นการร่วมกลุ่มของขบวนการแรงงานในสหรัฐอเมริกา

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหรัฐอเมริกามีประวัติศาสตร์อันยาวนานและซับซ้อนซึ่งเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิดกับขบวนการแรงงานอเมริกันและประวัติศาสตร์ของพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก พรรคมีอิทธิพลในการเมืองอเมริกันในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีบทบาทสำคัญในขบวนการแรงงานจากยุคคริสต์ทศวรรษ 1920 ผ่านยุคคริสต์ทศวรรษ 1940 กลายเป็นที่รู้จักสำหรับการต่อต้านแนวคิตแบ่งแยกเชื้อชาติและการเหยียดผิว สมาชิกของพรรคเพิ่มขึ้นในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ แต่สมาชิกของพรรคคอมมิวนิสต์สหรัฐอเมริกาก็ลดลงเนื่องจากเหตุการณ์เช่น Red Scare และอิทธิพลของลัทธิมักคาร์ที ขณะที่การสนับสนุนสหภาพโซเวียตทำให้พรรคคอมมิวนิสต์ห่างเหินสหรัฐในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหรัฐอเมริกาต่อต้านแนวคิดกลัสนอสต์ และ เปเรสตรอยคา ในสหภาพโซเวียต และเป็นผลจากเงินทุนสนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตที่สิ้นสุดลงในปี 1989 พรรคคอมมิวนิสต์สหรัฐอเมริกายังคงมุ่งมั่นที่จะสานอุดมการณ์มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์

อ้างอิง

[แก้]
  1. Pecinovsky, Tony (February 21, 2017). "Trump sparks communist growth surge". CPUSA.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-07. สืบค้นเมื่อ 2021-08-27.
  3. Pierard, Richard (1998). "American Extremists: Militias, Supremacists, Klansmen, Communists, & Others. By John George and Laird Wilcox. Amherst, N.Y.: Prometheus Press, 1996. 443 pp. $18.95". Journal of Church and State. Oxford Journals. 40 (4): 912–913. doi:10.1093/jcs/40.4.912. สืบค้นเมื่อ October 30, 2017.
  4. Constitution of the Communist Party USA. 2001.

หนังสือเพื่มเติม

[แก้]
  • Arnesen, Eric, "Civil Rights and the Cold War at Home: Postwar Activism, Anticommunism, and the Decline of the Left," American Communist History (2012), 11#1 pp 5–44
  • Zumoff, Jacob A. The Communist International and US Communism, 1919-1929. [2014] Chicago: Haymarket Books, 2015.
The number of articles, pamphlets, and books directly or tangentially relating to Communism in America and the CPUSA is vast, numbering into the thousands of titles. For a selection of the most important titles, see Bibliography on American Communism.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]