ข้ามไปเนื้อหา

ตุ่มอักเสบเรื้อรังที่หนังตา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตุ่มอักเสบเรื้อรังที่หนังตา
ชื่ออื่นถุงน้ำไมโบเมียน, เซลล์ไขมันในต่อมไมโบเมียนอักเสบ[1]
หนังตาที่เป็นถุงน้ำไมโบเมียน
การออกเสียง
สาขาวิชาจักษุวิทยา, ทัศนมาตรศาสตร์
อาการถุงน้ำแข็งและไม่เจ็บตรงกลางของเปลือกตา[2]
การตั้งต้นค่อยเป็นค่อยไป ใช้เวลาสองสามสัปดาห์[2]
โรคอื่นที่คล้ายกันกุ้งยิง, เซลล์เยื่อบุผิวหนังรอบดวงตาอักเสบ[2]
การรักษาประคบอุ่น, ฉีดสเตอรอยด์, ศัลยกรรม[2]
ความชุกไม่ทราบ[3]

ตุ่มอักเสบเรื้อรังที่หนังตา[4] (อังกฤษ: Chalazion) หรือ ถุงน้ำไมโบเมียน (อังกฤษ: Meibomian cyst[5]) หรือชื่ออื่น ๆ ที่ปรากฏ เช่น กุ้งยิงด้านใน, ปรวดหนังตา[6], กุ้งยิงไม่เจ็บ เป็นถุงน้ำในเปลือกตาที่เกิดจากการอุดตันของต่อมไขมัน[7] โดยทั่วไปมักเกิดที่ช่วงกลางของเปลือกตา มีสีแดงและไม่เจ็บ[2] และมักเกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไปในเวลาสองสามสัปดาห์[2] ถึงแม้ชื่อทับศัพท์ในภาษาไทยจะมีการบัญญัติชื่อหนึ่งไว้ว่า กุ้งยิงด้านใน แต่พยาธิสภาพและพยาธิวิทยานั้นแตกต่างกับการเกิด กุ้งยิง (hordeolum) ชนิดที่เกิดภายในเปลือกตา (ซึ่งอาจเรียกว่า กุ้งยิงด้านใน เช่นกัน)

ถุงน้ำในเปลือกตาอาจเกิดถัดจากการเกิดกุ้งยิง หรือจากการแข็งตัวของน้ำมันที่ทำให้ต่อมอุดตัน[2] โดยทั่วไปมักเกิดการอุดตันของต่อมไมโบเมียน แต่สามารถพบเกิดกับต่อมซีสได้เช่นกัน[8]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Duderstadt, Karen (2013). Pediatric Physical Examination: An Illustrated Handbook (ภาษาอังกฤษ) (2 ed.). Elsevier Health Sciences. p. 155. ISBN 9780323187206. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 Carlisle, RT; Digiovanni, J (15 July 2015). "Differential Diagnosis of the Swollen Red Eyelid". American Family Physician. 92 (2): 106–12. PMID 26176369.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Rut2013
  4. บัญญัติใน ICD10 ฉบับภาษาไทย
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Kanski
  6. https://dict.longdo.com/search/Chalazion
  7. "Eyelid Disorders Chalazion & Stye". National Eye Institute. 4 May 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2016. สืบค้นเมื่อ 14 October 2016.
  8. Deibel, JP; Cowling, K (May 2013). "Ocular inflammation and infection". Emergency Medicine Clinics of North America. 31 (2): 387–97. doi:10.1016/j.emc.2013.01.006. PMID 23601478.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก