ซาริน
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
Pronunciation | /ˈsɑːrɪn/ |
Preferred IUPAC name
Propan-2-yl methylphosphonofluoridate | |
ชื่ออื่น
(RS)-O-Isopropyl methylphosphonofluoridate; IMPF;
GB;[2] 2-(Fluoro-methylphosphoryl)oxypropane; Phosphonofluoridic acid, P-methyl-, 1-methylethyl ester EA-1208 TL-1618 T-144 | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C4H10FO2P | |
มวลโมเลกุล | 140.094 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวใสไม่มีสี, สีน้ำตาลถ้าไม่บริสุทธิ์ |
กลิ่น | ไร้กลิ่นในรูปแบบบริสุทธิ์, อาจมีกลิ่นคล้ายมัสตาร์ดหรือยางไหม้ถ้าไม่บริสุทธิ์ |
ความหนาแน่น | 1.0887 g/cm3 (25 °C) 1.102 g/cm3 (20 °C) |
จุดหลอมเหลว | −56 องศาเซลเซียส (−69 องศาฟาเรนไฮต์; 217 เคลวิน) |
จุดเดือด | 158 องศาเซลเซียส (316 องศาฟาเรนไฮต์; 431 เคลวิน) |
ผสมเข้ากันได้ | |
log P | 0.30 |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
สารโคลิเนอร์จิกที่ทำให้ถึงตาย |
GHS labelling: | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
ค่าขีดจำกัดเกณฑ์ (TLV)
|
0.00003 mg/m3 (TWA), 0.0001 mg/m3 (STEL) |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
39 μg/kg (intravenous, rat)[3] |
NIOSH (US health exposure limits): | |
IDLH (Immediate danger)
|
0.1 mg/m3 |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | Lethal Nerve Agent Sarin (GB) |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ซาริน หรือจีบี เป็นสารประกอบออร์แกโนฟอสฟอรัส มีสูตรเคมี [(CH3)2CHO]CH3P(O)F ซารินเป็นของเหลวไร้สี ไร้กลิ่น[4] ใช้เป็นอาวุธเคมีเนื่องจากเป็นสารประสาทที่ออกฤทธิ์รุนแรง ซารินจัดเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงในข้อมติสหประชาชาติที่ 687[5] อนุสัญญาอาวุธเคมี พ.ศ. 2536 ห้ามการผลิตและเก็บสะสมซาริน และจัดเป็นสารกำหนดรายการ 1 (Schedule 1 substance)
ซารินมีฤทธิ์ถึงตายแม้ในความเข้มข้นต่ำมาก โดยผู้ที่ได้รับจะเสียชีวิตภายในหนึ่งนาทีหลังการกินโดยตรงเพราะการหยุดหายใจจากกล้ามเนื้อปอดเป็นอัมพาต นอกเสียจากได้รับยาแก้พิษ ซึ่งมักเป็นอะโทรปีนหรือไบเพริเดนและพลาลิด็อกซีม อย่างรวดเร็ว[4] ผู้ที่ได้รับในปริมาณไม่ถึงตาย แต่ไม่ได้รับการรักษาทางการแพทย์ทันที อาจได้รับความเสียหายทางประสาทถาวร
ซารินเคยถูกใช้ในการโจมตีรถไฟใต้ดินโตเกียวเมโทรของ การโจมตีโตเกียวเมโทรด้วยซาริน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Material Safety Data Sheet – Lethal Nerve Agent Sarin (GB)". 103d Congress, 2d Session. United States Senate. May 25, 1994. สืบค้นเมื่อ November 6, 2004.
- ↑ "Sarin". National Institute of Standards and Technology. สืบค้นเมื่อ March 27, 2011.
- ↑ "Substance Name: Sarin". ChemIDplus (ภาษาอังกฤษ). U.S. National Library of Medicine, National Institutes of Health. สืบค้นเมื่อ January 19, 2020.
- ↑ 4.0 4.1 Sarin (GB). Emergency Response Safety and Health Database. National Institute for Occupational Safety and Health. Accessed April 20, 2009.
- ↑ "Chemical weapons 101: Six facts about sarin and Syria's stockpile". CS Monitor. 21 August 2013.