ความยินยอมของผู้ถูกปกครอง
หน้าตา
ในปรัชญาการเมือง คำกล่าวว่า ความยินยอมของผู้ถูกปกครอง (consent of the governed) คือมโนคติซึ่งความชอบธรรมของรัฐบาลและสิทธิทางศีลธรรมที่จะใช้อำนาจนั้นชอบด้วยกฎหมายตราบเท่าที่ประชาชนหรือสังคมยินยอมให้ใช้อำนาจดังกล่าว ทฤษฎีความยินยอมนี้ขัดแย้งกับหลักเทวสิทธิราชย์และมักถูกนำมาใช้เป็นเครื่องต้านความชอบธรรมของลัทธิอาณานิคมในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา
พบการใช้คำกล่าว "ความยินยอมของผู้ถูกปกครอง" ในคำประกาศอิสรภาพสหรัฐ[1] ค.ศ. 1776 ร่างโดยทอมัส เจฟเฟอร์สัน หนึ่งในบิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐซึ่งเชื่อคล้ายกับจอห์น ล็อก นักปรัชญาชาวอังกฤษในรัฐที่ก่อร่างขึ้นด้วยความยินยอมของพลเมืองเสรีและเสมอภาคกัน (free and equal citizen) รัฐอื่นใดที่ไม่ได้รับความยินยอมจะขาดความชอบธรรมและสิทธิอำนาจนิติธรรม (rational-legal authority)
ดูเพิ่ม
[แก้]- อาณัต (การเมือง)
- อำนาจอธิปไตยของปวงชน
- นโนบายสาธารณะ
- หลักนิติธรรม
- การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง
- ทฤษฎีการเลือกของสังคม
- สัญญาประชาคม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lucas, Stephen E. "The Stylistic Artistry of the Declaration of Independence". National Archives and Records Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 30, 2012. สืบค้นเมื่อ July 4, 2012.
หนังสืออ่านเพิ่ม
[แก้]- John Locke, Second Treatise of Civil Government, chapter 8 section 95 (1690)
- Etienne de La Boétie, Discourse of Voluntary Servitude
- David Hume, Of the Original Contract
- Philip Pettit, Republicanism: A Theory of Freedom and Government. Oxford: Clarendon Press, 1997 (in which he argues, against a theory of the consent of the governed, in favour of a theory of the lack of explicit rebellion; following a Popperian view on falsifiability, Pettit considers that as consent of the governed is always implicitly supposed, thus trapping the social contract in a vicious circle, it should be replaced by the lack of explicit rebellion.
- Jean-Jacques Rousseau, The Social Contract, or Principles of Political Right (1762)