การประท้วงด้านความปลอดภัยทางถนนในประเทศบังกลาเทศ พ.ศ. 2561

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กลุ่มนักเรียนที่ได้ปิดช่องจราจรที่อุตตระ กรุงธากา เพื่อเรียกร้องด้านความปลอดภัยทางท้องถนน เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2561

การประท้วงเรียกร้องความปลอดภัยทางท้องถนนในประเทศบังกลาเทศ พ.ศ. 2561 เป็นการประท้วงทางสาธารณะที่กำลังดำเนินในประเทศบังกลาเทศ เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 โดยเกิดจากนักเรียนจากสถาบันสองสถาบันได้วิ่งในถนนและถูกรถโดยสารประจำทางที่ไม่มีใบอนุญาตถูกต้องตามกฎหมายชนจึงทำให้เสียชีวิต ด้วยเหตุผลที่รถโดยสารประจำทางรีบที่จะมารับผู้โดยสาร เพื่อป้องกันไม่ให้ขึ้นไปยังรถโดยสารประจำทางคันอื่น กลุ่มนักเรียนจึงได้รวมตัวกันประท้วงให้มีการดูแลความปลอดภัยและเพิ่มกฎหมายที่เข้มงวดมากขึ้นมากกว่านี้ มีผู้ร่วมประท้วงมากขึ้นในประเทศบังกลาเทศอย่างรวดเร็ว.[1][2] ถึงแม้ว่าการประท้วงเริ่มที่จะสามารถควบคุมได้ และเริ่มสลายการประท้วงลง แต่วันที่ 3 สิงหาคม ทางตำรวจและกลุ่มนักเรียนที่สนับสนุนรัฐบาลได้ออกมาโจมตีผู้ประท้วงและผู้รายงานข่าว[3]

ผลตอบสนองจากนานาชาติ[แก้]

สหประชาชาติมีความเป็นห่วงต่อเด็กและเยาวชนในท้องถนนบังกลาเทศในการที่ประท้วงครั้งนี้[4] สถานเอกอัครทูตประจำกรุงธากา ได้แถลงการณ์ประณามการประท้วงในครั้งนี้[5] สหพันธ์พิทักษ์เด็กประจำลอนดอนได้ออกมาเรียกร้องให้ฝ่ายรัฐบาลมีการดำเนินการตามกลุ่มนักเรียนที่ออกมาประท้วง[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Scores injured in traffic protests in Bangladesh capital". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-07. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
  2. "Protesting Teens Bring Bangladesh's Capital to a Standstill". Time (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
  3. "Dhaka streets appear deserted". 5 August 2018.
  4. "UN concerned for students' safety as safe-road protests simmer in Bangladesh". สืบค้นเมื่อ 6 August 2018.
  5. "Safe roads: US embassy condemns attacks on student protesters". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 5 August 2018. สืบค้นเมื่อ 6 August 2018.
  6. "Save the Children asks Bangladesh govt to meet student protesters' demands". สืบค้นเมื่อ 6 August 2018.