กองทัพจรวดกองทัพปลดปล่อยประชาชน
กองทัพจรวดกองทัพปลดปล่อยประชาชน | |
---|---|
中国人民解放军火箭军 จงกั๋วเหรินหมินเจี่ยฟ่างจฺวินหั่วเจี้ยนจฺวิน | |
เครื่องหมายติดหน้าอกประจำกองทัพ | |
ประจำการ | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2509; 58 ปีก่อน |
ประเทศ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
ขึ้นต่อ | พรรคคอมมิวนิสต์จีน[1] |
รูปแบบ | กองกำลังขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์และยุทธวิธี |
บทบาท | การป้องปรามทางยุทธศาสตร์ |
กำลังรบ | 120,000 ทหารประจำการ |
ขึ้นกับ | กองทัพจีน |
กองบัญชาการ | แขวงชิงเหอ เขตไห่เตี้ยน กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน |
สีหน่วย | แดง ทอง เขียวเข้ม |
เพลงหน่วย | 火箭军进行曲 ("มาร์ชกองทัพจรวด") |
ยุทธภัณฑ์ | ขีปนาวุธทิ้งตัว ขีปนาวุธร่อน ขีปนาวุธร่อนความเร็วเหนือเสียง ยานร่อนความเร็วเหนือเสียง (HGV) |
ปฏิบัติการสำคัญ | |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
ผู้บังคับบัญชา | |
ผู้บัญชาการ | พลเอก หวัง โฮ่วปิน |
ผู้บังคับการการเมือง | พลเอก สฺวี ซีเชิ่ง |
เสนาธิการ | พลเอก ซุน จินหมิง |
ผบ. สำคัญ | พลเอก เว่ย์ เฟิ่งเหอ |
เครื่องหมายสังกัด | |
ธงประจำกองทัพ | |
ตราสัญลักษณ์ | |
เครื่องหมายติดแขนเสื้อ |
กองทัพจรวดกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLARF; อังกฤษ: People's Liberation Army Rocket Force; จีน: 中国人民解放军火箭军; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Huǒjiàn Jūn) เดิมคือ กองทัพน้อยปืนใหญ่ที่ 2 (จีน: 第二炮兵; อังกฤษ: Second Artillery Corps) เป็นกองกำลังขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นเหล่าทัพที่ 4 ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน และควบคุมคลังแสงขีปนาวุธทางบก ไฮเปอร์โซนิก และขีปนาวุธร่อนทั้งแบบนิวเคลียร์และแบบธรรมดาของจีน สถาปนาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 ปรากฏตัวต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 โดยมีกองบัญชาการตั้งอยู่ในกรุงปักกิ่ง และอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาโดยตรงของคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีน
กองทัพจรวดประกอบด้วยบุคลากรประมาณ 120,000 นาย และฐานขีปนาวุธนำวิถี 6 แห่ง (หน่วยระดับกองทัพน้อย หรือหมู่กองทัพโดยประมาณ) ฐานทั้ง 6 แห่งนี้กระจายอยู่ในยุทธบริเวณทั้ง 5 แห่งทั่วประเทศจีน[2][3]
กองทัพจรวดเปลี่ยนชื่อจาก กองทัพน้อยปืนใหญ่ที่ 2 เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559[4][5]
จีนมีคลังแสงขีปนาวุธภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตามการประมาณการของเพนตากอน จีนมีขีปนาวุธทิ้งตัวพิสัยสั้นติดอาวุธแบบธรรมดา 1,200 ลูก ขีปนาวุธทิ้วตัวพิสัยกลางแบบธรรมดา 200–300 ลูก และขีปนาวุธพิสัยปานกลางแบบธรรมดาจำนวนหนึ่ง รวมทั้งขีปนาวุธร่อนแบบยิงจากพื้นดิน 200–300 ลูก หลายสิ่งเหล่านี้มีความแม่นยำอย่างยิ่ง ซึ่งจะทำให้พวกมันสามารถทำลายเป้าหมายได้แม้จะไม่มีหัวรบนิวเคลียร์ก็ตาม[6] ในปี พ.ศ. 2565 จดหมายข่าวนักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ และสหพันธ์นักวิทยาศาสตร์อเมริกัน (FAS) ประเมินว่าจีนมีหัวรบนิวเคลียร์สำรองอยู่ประมาณ 500 ลูก[7][8]
หน้าที่ ภารกิจ และบทบาท
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้าง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ขีปนาวุธประจำการ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
คำสั่งรบ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การสั่งการ การควบคุม และการสื่อสาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ฐานยิงขีปนาวุธเคลื่อนที่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รถหัวลาก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ปฏิบัติการในซาอุดิอาระเบีย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
- ↑ "The PLA Oath" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-09. สืบค้นเมื่อ 2015-10-30.
I am a member of the People's Liberation Army. I promise that I will follow the leadership of the Communist Party of China...
- ↑ Kristensen, Hans M.; Korda, Matt (2019-07-04). "Chinese nuclear forces, 2019". Bulletin of the Atomic Scientists. 75 (4): 171–178. Bibcode:2019BuAtS..75d.171K. doi:10.1080/00963402.2019.1628511. ISSN 0096-3402.
- ↑ Mihal, Maj. Christopher J. (Summer 2021). "Understanding the People's Liberation Army Rocket Force Strategy, Armament, and Disposition" (PDF). Military Review (July–August 2021): 24–26 – โดยทาง Army University Press.
- ↑ "China's nuclear policy, strategy consistent: spokesperson". Beijing. Xinhua. 1 January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 October 2016. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ Fisher, Richard D. Jr. (6 January 2016). "China establishes new Rocket Force, Strategic Support Force". Jane's Defence Weekly. Surrey, England: Jane's Information Group. 53 (9). ISSN 0265-3818.
This report also quotes Chinese expert Song Zhongping saying that the Rocket Force could incorporate 'PLA sea-based missile unit[s] and air-based missile unit[s]'.
- ↑ Keck, Zachary (29 July 2017). "Missile Strikes on U.S. Bases in Asia: Is This China's Real Threat to America?". The National Interest. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 April 2019. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ Kristensen, Hans M.; Korda, Matt; Reynolds, Eliana (2023-03-04). "Chinese nuclear weapons, 2023". Bulletin of the Atomic Scientists (ภาษาอังกฤษ). 79 (2): 108–133. Bibcode:2023BuAtS..79b.108K. doi:10.1080/00963402.2023.2178713. ISSN 0096-3402.
- ↑ "Status of World Nuclear Forces". Federation of American Scientists (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). March 31, 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 29, 2023. สืบค้นเมื่อ 2023-05-29.