อาสนวิหารตรีเอกภาพอันศักดิ์สิทธิ์ (ทบิลีซี)
อาสนวิหารตรีเอกภาพอันศักดิ์สิทธิ์ | |
---|---|
อาสนวิหารตรีเอกภาพอันศักดิ์สิทธิ์ | |
ศาสนา | |
ศาสนา | คริสตจักรออร์ทอดอกซ์จอร์เจีย |
หน่วยงานกำกับดูแล | อีลีอาที่ 2 แห่งจอร์เจีย |
ปีที่อุทิศ | 2004 |
ที่ตั้ง | |
ที่ตั้ง | ทบิลีซี จอร์เจีย |
สถาปัตยกรรม | |
สถาปนิก | อาร์ชิล มินดีอัชวีลี |
รูปแบบ | กางเขนจอร์เจีย-โดม |
ลงเสาเข็ม | 1995 |
เสร็จสมบูรณ์ | 2004 |
ลักษณะจำเพาะ | |
ความจุ | 10,000 คน[ต้องการอ้างอิง] |
ความยาว | 70.4 ม.[1] |
ความกว้าง | 64.7 ม.[1] |
พื้นที่ภายใน | 3,000 ตร.ม. (ภายใน) 3,200 ตร.ม. (ภายนอกและบันได)[ต้องการอ้างอิง] |
อาสนวิหารตรีเอกภาพอันศักดิ์สิทธิ์แห่งทบิลีซี (จอร์เจีย: თბილისის წმინდა სამების საკათედრო ტაძარი) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ซาเมบา (სამება; แปลว่า ตรีเอกภาพ) เป็นอาสนวิหารสำคัญของคริสตจักรออร์ทอดอกซ์จอร์เจีย ตั้งอยู่ในทบิลีซี เมืองหลวงของประเทศจอร์เจีย สร้างขึ้นในช่วงระหว่างปี 1995–2004
อาสนวิหารได้รับการออกแบบตามสถาปัตยกรรมจอร์เจียแบบดั้งเดิม แต่มีการเน้นขยายส่วนแนวตั้งมากเป็นพิเศษ และถูกมองว่าเป็น "สิ่งปลูกสร้างขวางหูขวางตาสำหรับหลายคน แต่อีกหลายคนก็เคารพบูชา"[2]
บางส่วน[3][4] ของพื้นที่ที่ใช้ก่อสร้างอาสนวิหารแต่เดิมเป็นที่ดินที่เคยเป็นสุสานอาร์มีเนียชื่อฆอจาวังค์[5][6][7] เดิมทีสุสานมีโบสถ์อาร์มีเนียตั้งอยู่ด้วย แต่ถูกทำลายไปในสมัยโซเวียตตามคำสั่งของลัฟเรนตีย์ เบรียา ป้ายหลุมศพและอนุสรณ์ศพส่วนใหญ่ก็ถูกทำลายไปเช่นกัน และพื้นที่ถูกเปลี่ยนมาเป็นสวนสาธารณะ ถึงกระนั้นก็ยังคงมีหลุมศพอยู่จำนวนหนึ่งที่ยังคงอยู่ในช่วงเวลาที่เริ่มก่อสร้างอาสนวิหารนี้[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "როგორ შენდებოდა სამების საკათედრო ტაძარი".
- ↑ Tim Buford, "Georgia - 2015 edition, Bradt Travel Guides", p128.
- ↑ Kalatozishvili, Georgy (30 July 2014). "Relations between Georgian and Armenian churches". Vestnik Kavkaza.
the construction of the St. Trinity Cathedral in Tbilisi in 1989.The patriarchy of the Georgian Orthodox Church (GOC) decided to build a huge temple on a hill near an Armenian cemetery. The territory of the church, Armenian officials say, will take part of the territory of the cemetery.
- ↑ Goble, Paul (8 August 2014). "Tensions Between Georgian and Armenian Churches Escalate". Eurasia Daily Monitor. Jamestown Foundation. 11 (146).
The construction of the Georgian cathedral became a problem for the Armenians because its site was either next to or, according to Armenians, occupied part of what has long been the Armenian cemetery there.
- ↑ "Цминда Самеба – современное видение грузинского христианства". btimes.ru (ภาษารัสเซีย). Business Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-04. สืบค้นเมื่อ 2023-01-13.
Храм был построен на месте старинного армянского кладбища Ходживанк, что вызвало волну возмущения, как от местных жителей, так и от армян, которые были недовольны непочтительным отношением к останкам захороненных людей.
- ↑ Burford, Tim (2015). Georgia. Bradt Travel Guides. p. 128. ISBN 9781841625560.
It was built on the Armenian Khojavank cemetery which was treated with a scandalous lack of respect.
- ↑ Noble, John; Kohn, Michael; Systermans, Danielle (2008). Georgia, Armenia & Azerbaijan. Lonely Planet. p. 57. ISBN 9781741044775.
Some controversy surrounded its construction on the site of an old Armenian cemetery.
- ↑ "Հայկական Հանրագիտարան". www.encyclopedia.am. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-06. สืบค้นเมื่อ 11 January 2018.