รัฐบาลสมัชชาใหญ่แห่งชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Government of the Grand National Assembly)
รัฐบาลสมัชชาใหญ่แห่งชาติ

Büyük Millet Meclisi Hükûmeti
ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1923
ธงชาติรัฐบาลอังการา
ธงชาติ
คำขวัญYa istiklâl ya ölüm!
"อิสรภาพหรือความตาย!"
สถานการณ์ภายในจักรวรรดิออตโตมันภายหลัง สนธิสัญญาแซแวร์ มีผลบังคับใช้
สถานการณ์ภายในจักรวรรดิออตโตมันภายหลัง สนธิสัญญาแซแวร์ มีผลบังคับใช้
เมืองหลวงอังการา (โดยพฤตินัย)
ภาษาราชการตุรกี[1]
ศาสนา
อิสลาม (ศาสนาประจำชาติ)[1]
การปกครองรัฐบาลเฉพาะกาลภายใต้ระบบรัฐสภา
ประธานสภานิติบัญญัติ 
• ค.ศ. 1920–1923
มุสทาฟา เคมัลab
นายกรัฐมนตรี 
• ค.ศ. 1920–1921
มุสทาฟา เคมัล
• ค.ศ. 1921–1922
มุสทาฟา เฟสซี
• ค.ศ. 1922–1923
ฮูซายิน ราเฟ
• ค.ศ. 1923
เอลลี เฟที
สภานิติบัญญัติสมัชชาใหญ่แห่งชาติ
ยุคประวัติศาสตร์สงครามประกาศอิสรภาพ
23 เมษายน ค.ศ. 1920
3 พฤษภาคม ค.ศ. 1920
20 มกราคม ค.ศ. 1921
11 ตุลาคม ค.ศ. 1922
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922
24 กรกฎาคม ค.ศ. 1923
29 ตุลาคม ค.ศ. 1923
ประชากร
• 
6–7 ล้านคน[2]
สกุลเงินลีราออตโตมัน
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิออตโตมัน
อาร์เมเนีย
แนวยึดครองสมึร์นา
การยึดครองกรุงคอนสแตนติโนเปิล
สาธารณรัฐประชาธิปไตยจอร์เจีย
สาธารณรัฐตุรกี
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ตุรกี
^a ในฐานะ "ประธานสภานิติบัญญัติสมัชชาใหญ่แห่งชาติ"
^b ในฐานะ "ผู้บัญชาการทหารสมัชชาใหญ่แห่งชาติ" ภายหลัง ค.ศ. 1921

รัฐบาลสมัชชาใหญ่แห่งชาติ (ตุรกี: Büyük Millet Meclisi Hükûmeti) เรียกกันโดยทั่วไปว่า รัฐบาลอังการา (ตุรกี: Ankara Hükûmeti)[3][4][5][6][7][8] เป็นชื่อเรียกรัฐบาลตุรกีชั่วคราวซึ่งมาจากการปฏิวัติ ตั้งอยู่ในกรุงอังการา ในช่วงสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี (ค.ศ. 1919−1923) และในช่วงปีสุดท้ายของจักรวรรดิออตโตมัน รัฐบาลนี้มีขบวนการแห่งชาติตุรกีเป็นผู้นำ ซึ่งต่างจากรัฐบาลอันเสื่อมสลายของคอนสแตนติโนเปิล ที่มีสุลต่านออตโตมันเป็นผู้นำ

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 [1] TEŞKİLÂTI ESASİYE KANUNU
  2. Belgelerle Türk tarihi dergisi, Edition 18, Menteş Kitabevi, 1986, page 72. (ในภาษาตุรกี)
  3. Esra Yakut: Şeyhülislâmlık: yenileşme döneminde devlet ve din, Kitap Yayınevi Ltd., 2005, ISBN 9789758704941, page 198,199. (ในภาษาตุรกี)
  4. Pars Tuğlacı: Çağdaş Türkiye, Cem Yayınevi, 1987, Turkey page 358. (ในภาษาตุรกี)
  5. Hakan Alan, Avni Alan: İstanbul Şehir Rehberi, ASBOOK, 2007, ISBN 9750114701, page 12. (ในภาษาตุรกี)
  6. Yahya Kemal: Eğil Dağlar, Kubbealtı Publishing, 1966, ISBN 9757618519, pages 13, 92-93, 138, 155, 170, 188, 204-205, 232, 302, 338. (ในภาษาตุรกี)
  7. William Hale: Turkish Foreign Policy, 1774-2000, Routledge, 2012, ISBN 0415599865, pages 36, 37, 38, 50, 265.
  8. Kemal Kirişci, Gareth M. Winrow: The Kurdish Question and Turkey: An Example of a Trans-State Ethnic Conflict, Routledge, 1997, ISBN 0714647462, pages 71-75, 77-79, 80, 82-84.

ดูเพิ่ม[แก้]