ข้ามไปเนื้อหา

สมาคมมหาวิทยาลัยอเมริกัน

พิกัด: 38°54′01″N 77°01′42″W / 38.90028°N 77.02833°W / 38.90028; -77.02833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Association of American Universities)
สมาคมมหาวิทยาลัยอเมริกัน
ก่อตั้ง28 กุมภาพันธ์ 1900; 124 ปีก่อน (1900-02-28)[1]
ก่อตั้งที่Chicago, Illinois, U.S.
ประเภท501(c)(3) องค์การไม่แสวงหาผลกำไร[2]
Tax ID no.
52-1945674[2]
สํานักงานใหญ่อาคารวิลเลียม ที. โกลเดน ศูนย์วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐ
ที่ตั้ง
    • สหรัฐ
    • ประเทศแคนาดา
พิกัด38°54′01″N 77°01′42″W / 38.90028°N 77.02833°W / 38.90028; -77.02833
สมาชิก
71
ประธาน
บาร์บารา สไนเดอร์[3]
หัวหน้า
โรเบิร์ต เจ. โจนส์[4]
เว็บไซต์www.aau.edu แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ

สมาคมมหาวิทยาลัยอเมริกัน (อังกฤษ: Association of American Universities) เป็นองค์กรของมหาวิทยาลัยที่ทำงานวิจัยชั้นแนวหน้า ที่ทำงานมีเป้าหมายในการดำรงไว้ซึ่งงานวิจัยเชิงวิชาการและการศึกษาที่เข้มแข็ง ประกอบด้วมหาวิทยาลัย 60 แห่งในประเทศสหรัฐอเมริกา และ 2 แห่งในประเทศแคนาดา

สมาชิกภาพ[แก้]

สมาชิกปัจจุบัน[แก้]

สถาบัน[5] รัฐ ประเภท ก่อตั้ง เข้าร่วม นักศึกษา โรงเรียนแพทย์[6][7]
(LCME รับรอง)
หลักสูตรวิศวกรรม[8]
(ABET รับรอง)
สถาบันทุนที่ดิน[9]
(NIFA)
ทุนจากรัฐบาลกลาง[10]
(พันดอลลาร์สหรัฐ)
มหาวิทยาลัยแอริโซนาสเตต แอริโซนา รัฐ 1885 2023 144,800 N Y N 309,094
มหาวิทยาลัยบอสตัน แมสซาชูเซตส์ เอกชน 1839 2012 36,729 Y Y N 413,102
มหาวิทยาลัยแบรนไดส์ แมสซาชูเซตส์ เอกชน 1948 1985 5,808 N N N 44,205
มหาวิทยาลัยบราวน์ โรดไอแลนด์ เอกชน 1764 1933 8,619 Y Y N 215,067
สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย แคลิฟอร์เนีย เอกชน 1891 1934 2,231 N Y N 326,401
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน เพนซิลเวเนีย เอกชน 1900 1982 12,908 N Y N 259,160
มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ โอไฮโอ เอกชน 1826 1969 12,201 Y Y N 380,423
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นิวยอร์ก เอกชน 1754 1900 29,250 Y Y N 904,346
มหาวิทยาลัยคอร์เนล นิวยอร์ก เอกชน 1865 1900 21,904 Y Y Y 636,481
วิทยาลัยดาร์ตมัธ นิวแฮมป์เชียร์ เอกชน 1769 2019[11] 6,571 Y Y N 155,445
มหาวิทยาลัยดุ๊ก นอร์ทแคโรไลนา เอกชน 1838 1938 14,600 Y Y N 901,807
มหาวิทยาลัยเอมอรี จอร์เจีย เอกชน 1836 1995 14,513 Y N[a] N 568,149
มหาวิทยาลัยจอร์จวอชิงตัน วอชิงตัน ดี.ซี. เอกชน 1821 2023 26,457 Y Y N 161,867
สถาบันเทคโนโลยีจอร์เจีย จอร์เจีย รัฐ 1885 2010 29,370 N Y N 940,488
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด แมสซาชูเซตส์ เอกชน 1636 1900 21,000 Y Y N 628,683
มหาวิทยาลัยอินดีแอนา บลูมมิงตัน อินดีแอนา รัฐ 1820 1909 42,731 N[b] Y

[13]

N 360,300
มหาวิทยาลัยจอนส์ ฮอปคินส์ แมริแลนด์ เอกชน 1876 1900 23,073 Y Y N 2,971,816
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ แมสซาชูเซตส์ เอกชน 1861 1934 11,319 N Y Y

[c]

531,056
มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ เกแบ็ก รัฐ 1821 1926 36,904 Y Y N N/A
มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต มิชิแกน รัฐ 1855 1964 51,316 Y Y Y 381,504
มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก นิวยอร์ก เอกชน 1831 1950 61,950 Y Y N 668,381
มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น ชิคาโก เอกชน 1851 1917 21,208 Y Y N 618,771
มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต โอไฮโอ รัฐ 1870 1916 60,540 Y Y Y 636,902
มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต เพนซิลเวเนีย กึ่งรัฐ[d] 1855 1958 45,518 Y Y Y 681,159
มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน นิวเจอร์ซีย์ เอกชน 1746 1900 8,010 N Y N 218,390
มหาวิทยาลัยเพอร์ดู อินดีแอนา รัฐ 1869 1958 52,211 N Y Y 352,890
มหาวิทยาลัยไรซ์ เท็กซัส เอกชน 1912 1985 8,212 N Y N 125,106
มหาวิทยาลัยรัตเกอร์ส–นิวบรันสวิก นิวเจอร์ซีย์ รัฐ 1766 1989 41,565 Y

[15]

Y Y 351,660
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แคลิฟอร์เนีย เอกชน 1891 1900 15,877 Y Y N 860,125
มหาวิทยาลัยสโตนนีบรูก นิวยอร์ก รัฐ 1957 2001 26,814 Y Y N 184,154
มหาวิทยาลัยเท็กซัสเอแอนด์เอ็ม เท็กซัส รัฐ 1876 2001 77,491 Y Y Y 505,355
มหาวิทยาลัยทัฟส์ แมสซาชูเซตส์ เอกชน 1852 2021 11,024 Y Y N 150,081
มหาวิทยาลัยทูเลน ลุยเซียนา เอกชน 1834 1958 13,462 Y Y N 127,544
มหาวิทยาลัยบัฟฟาโล นิวยอร์ก รัฐ 1846 1989 30,183 Y Y N 218,231
มหาวิทยาลัยแอริโซนา แอริโซนา รัฐ 1885 1985 40,223 Y Y Y 374,936
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1868 1900 36,204 N[e] Y Y 468,542
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิส แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1905 1996 34,175 Y Y Y 468,468
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เออร์ไวน์ แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1965 1996 29,588 Y Y Y 291,393
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1919 1974 42,163 Y Y Y 848,138
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ริเวอร์ไซด์ แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1907 2023 26,809 Y Y Y 114,257
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโก แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1960 1982 30,310 Y Y Y 970,696
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตาบาร์บารา แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1944 1995 25,057 N Y Y 161,241
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตาครูซ แคลิฟอร์เนีย รัฐ 1965 2019[16] 19,457 N Y Y 107,082
มหาวิทยาลัยชิคาโก ชิคาโก เอกชน 1890 1900 14,954 Y Y N 456,806
มหาวิทยาลัยโคโลราโด โบลเดอร์ โคโลราโด รัฐ 1876 1966 32,775 Y

[f][17]

Y N 507,892
มหาวิทยาลัยฟลอริดา ฟลอริดา รัฐ 1853 1985 55,781 Y Y Y 467,739
มหาวิทยาลัยอิลลินอย เออร์แบนา-แชมเปญจน์ ชิคาโก รัฐ 1867 1908 44,520 Y Y Y 420,953
มหาวิทยาลัยไอโอวา ไอโอวา รัฐ 1847 1909 31,065 Y Y N 314,346
มหาวิทยาลัยแคนซัส แคนซัส รัฐ 1865 1909 27,983 Y Y N 200,117
มหาวิทยาลัยแมริแลนด์ คอลเลจพาร์ก แมริแลนด์ รัฐ 1856 1969 37,631 N Y Y 750,447
มหาวิทยาลัยไมแอมี ฟลอริดา เอกชน 1925 2023 19,402 Y Y N 265,212
มหาวิทยาลัยมิชิแกน มิชิแกน รัฐ 1817 1900 43,426 Y Y N 970,636
มหาวิทยาลัยมินนิโซตา มินนิโซตา รัฐ 1851 1908 52,376 Y Y Y 652,384
มหาวิทยาลัยมิสซูรี มิสซูรี รัฐ 1839 1908 35,441 Y Y Y 182,432
มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา แชเปิลฮิลล์ นอร์ทแคโรไลนา รัฐ 1789 1922 29,390 Y N[g] N 827,158
มหาวิทยาลัยนอเตอร์เดม อินดีแอนา เอกชน 1842 2023 12,809 N Y N 124,411
มหาวิทยาลัยออริกอน ออริกอน รัฐ 1876 1969 22,980 N N N 97,238
มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย เพนซิลเวเนีย เอกชน 1740 1900 24,630 Y Y N 873,318
มหาวิทยาลัยพิตต์สเบิร์ก เพนซิลเวเนีย กึ่งรัฐ[d] 1787 1974 28,649 Y Y N 814,647
มหาวิทยาลัยรอเชสเตอร์ นิวยอร์ก เอกชน 1850 1941 10,290 Y Y N 334,503
มหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา ฟลอริดา รัฐ 1956 2023 49,766 Y Y N 206,552
มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย แคลิฟอร์เนีย เอกชน 1880 1969 48,500 Y Y N 601,747
มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน เท็กซัส รัฐ 1883 1929 51,913 Y Y N 536,296
มหาวิทยาลัยโทรอนโต ออนแทรีโอ รัฐ 1827 1926 97,678 Y Y N N/A
มหาวิทยาลัยยูทาห์ ยูทาห์ รัฐ 1850 2019[19][20] 32,994 Y Y N 367,040
มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย เวอร์จิเนีย รัฐ 1819 1904 24,360 Y Y N 332,993
มหาวิทยาลัยวอชิงตัน วอชิงตัน รัฐ 1861 1950 43,762 Y Y N 1,083,090
มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน–แมดิสัน วิสคอนซิน รัฐ 1848 1900 43,275 Y Y Y 740,854
มหาวิทยาลัยแวนเดอร์บิลต์ เทนเนสซี เอกชน 1873 1950 12,795 Y Y N 666,282
มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์ มิสซูรี เอกชน 1853 1923 14,117 Y Y N 681,353
มหาวิทยาลัยเยล คอนเนตทิคัต เอกชน 1701 1900 13,609 Y Y N 689,270

อดีตสมาชิก[แก้]

รัฐ ประเภท ก่อตั้ง เข้าร่วม ออก นักศึกษา
มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งอเมริกา[h][21] วอชิงตัน ดี.ซี. เอกชน 1887 1900 2002 5,771
มหาวิทยาลัยคลาร์ก[i][22] แมสซาชูเซตส์ เอกชน 1887 1900 1999 3,498 (2019)
มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต[j][23][24] ไอโอวา รัฐ 1858 1958 2022 30,708 (2021)
มหาวิทยาลัยซีราคิวส์[k][25] นิวยอร์ก เอกชน 1870 1966 2011 21,322 (2020)
มหาวิทยาลัยเนแบรสกา–ลิงคอล์น[l][26] เนแบรสกา รัฐ 1869 1909 2011 25,820 (ใบไม้ร่วง 2018)

หมายเหตุ[แก้]

  1. Although Emory shares a joint engineering department with Georgia Tech, the program is accredited through Georgia Tech.[12]
  2. While the funding numbers of the Indiana University School of Medicine are reported through IUB, IUSM is accredited through its main campus at Indiana University–Purdue University Indianapolis (IUPUI). After IUPUI is dissolved at the end of the 2023–24 academic year, IUSM's accreditation will be through the newly established Indiana University Indianapolis.
  3. USDA has confirmed that MIT is eligible to apply for grants that are available only to land-grant institutions, the State of Massachusetts chooses to allocate its federal capacity appropriations to the University of Massachusetts, Amherst.[14]
  4. 4.0 4.1 As members of the Commonwealth System of Higher Education, Penn State and Pittsburgh are privately governed but receive funding from the Pennsylvania state government.
  5. The University of California, Berkeley is closely tied with the LCME-accredited University of California, San Francisco, which only provides graduate-level courses. The two universities share a joint program.
  6. The University of Colorado School of Medicine, a LCME accredited school of medicine, is affiliated with the University of Colorado Boulder.
  7. UNC Chapel Hill offers an ABET accredited Biomedical Engineering degree jointly with North Carolina State University. The engineering courses are offered through the NC State College of Engineering, while the medical courses are offered through UNC Chapel Hill.[18]
  8. Departed as a result of "institutional emphases and energies" that differed from the other AAU members.
  9. Departed because of a shift in the AAU's emphasis to large research universities.
  10. Iowa State departed claiming that AAU's internal ranking indicators unfairly favor institutions with high levels of NIH funding and noted that its strength is not in biomedical research because the school does not have a medical school.
  11. Because of a dispute over how to count nonfederal grants, Syracuse voluntarily withdrew from the AAU in 2011. The Chronicle of Higher Education reported that after "it became clear that Syracuse wouldn't meet the association's revised membership criteria, university officials decided that they would leave the organization voluntarily, rather than face a vote like Nebraska's, and notified the leadership of their intentions."
  12. Removed from the AAU. Chancellor Harvey Perlman said that the lack of an on-campus medical school (the Medical Center is a separate campus of the University of Nebraska system) and the AAU's disregarding of USDA-funded agricultural research in its metrics hurt the university's performance in the association's internal ranking system. In 2010 Perlman stated that had Nebraska not been part of the AAU, the Big Ten Conference would likely not have invited it to become the athletic conference's 12th member.

อ้างอิง[แก้]

  1. "Colleges Will Co-operate: Organization of the Association of American Universities". The Washington Post. March 1, 1900. p. 2.
  2. 2.0 2.1 "Association Of American Colleges And Universities. เก็บถาวร ธันวาคม 21, 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน". Tax Exempt Organization Search. Internal Revenue Service. December 20, 2018.
  3. "Case Western President Named Head of AAU". Inside Higher Ed. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 19, 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-02-19.
  4. "AAU Elects University of Illinois Urbana-Champaign Chancellor Robert J. Jones as Next Chair". Association of American Universities. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 1, 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-06-12.
  5. "Our Members". Associate of American Universities.
  6. "Accredited MD Programs in the United States". LCME. Liaison Committee on Medical Education. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 16, 2018. สืบค้นเมื่อ 18 May 2018.
  7. "AAU Peer Institutions". Data Analytics. 2016-08-10. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 14, 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-05-14.
  8. "ABET ACCREDITED PROGRAM SEARCH". ABET. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 17, 2018. สืบค้นเมื่อ 17 May 2018.
  9. "Land-Grant Colleges and Universities". National Institute of Food and Agriculture.
  10. "Higher Education Research and Development (HERD) Survey". National Center for Science and Engineering Statistics.
  11. "Dartmouth Joins the Association of American Universities | Dartmouth News". news.dartmouth.edu. November 6, 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 7, 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-11-07.
  12. "Accreditation and Assessment". Coulter Department of Biomedical Engineering. Coulter Department of Biomedical Engineering Georgia Institute of Technology & Emory University School of Medicine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 17, 2018. สืบค้นเมื่อ 17 May 2018.
  13. Keag, Kelsey (15 Sep 2022). "Luddy's B.S. in Intelligent Systems Engineering program achieves ABET accreditation". สืบค้นเมื่อ 26 Dec 2023.
  14. "The U.S. Land-Grant University System: Overview and Role in Agricultural Research" (PDF). The U.S. Land-Grant University System: Overview and Role in Agricultural Research Congressional Research Service. สืบค้นเมื่อ 7 December 2022.
  15. "Accredited U.S. Programs". LCME (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-03-16.
  16. Hernandez-Jason, Scott (November 6, 2019). "Radical excellence: UC Santa Cruz joins Association of American Universities". UC Santa Cruz. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 6, 2019. สืบค้นเมื่อ November 6, 2019.
  17. "Accredited U.S. Programs". LCME (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-03-16.
  18. "Joint Department of Biomedical Engineering". Joint Department of Biomedical Engineering. Joint Department of Biomedical Engineering @ UNC & NC State. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 17, 2018. สืบค้นเมื่อ 17 May 2018.
  19. "The U invited to join the Association of American Universities | @theU". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 7, 2019. สืบค้นเมื่อ November 7, 2019.
  20. "Three Leading Research Universities Join the Association of American Universities (AAU)". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 29, 2020. สืบค้นเมื่อ November 7, 2019.
  21. O'Connell, The Most Rev. David M. (2002). "From the President's Desk". The Catholic University of America. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มิถุนายน 1, 2013. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 25, 2013.
  22. Peter Schmidt, "Clark U. Leaves Association of American Universities; Others May Follow" (September 10, 1999). Chronicle of Higher Education.
  23. "Iowa State concludes its AAU membership". Iowa State University (Press release). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 21, 2022. สืบค้นเมื่อ October 8, 2013.
  24. Jaschik, Scott (April 22, 2022). "Iowa State announces its departure from AAU". Inside Higher Ed (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 15 May 2022.
  25. Selingo, Jeffrey J. (พฤษภาคม 2, 2011). "Facing an Ouster From an Elite Group of Universities, Syracuse U. Says It Will Withdraw". Chronicle of Higher Education. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤษภาคม 4, 2011. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 3, 2011.
  26. Lewin, Tamar (3 May 2011). "American Universities Group Votes to Expel Nebraska". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 15 May 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]