1,8-ไดอะซาฟลูออเรน-9-โอน
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
9H-Cyclopenta[1,2-b:4,3-b′]dipyridin-9-one | |
ชื่ออื่น
DFO
9H-1,8-Diazafluoren-9-one 9H-Pyrido[3′,2′:3,4]cyclopenta[1,2-b]pyridin-9-one | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
เคมสไปเดอร์ | |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C11H6N2O | |
มวลโมเลกุล | 182.182 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | Yellow powder |
จุดหลอมเหลว | 229–233 องศาเซลเซียส (444–451 องศาฟาเรนไฮต์; 502–506 เคลวิน) |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
1,8-Diazafluoren-9-one หรือ DFO เป็นสารเคมีที่ใช้ค้นหารอยนิ้วมือบนพื้นผิวที่มีรูพรุน โดยทำให้ลายนิ้วมือวาวแสงเมื่อฉายด้วยแสงสีน้ำเงินอมเขียว
1,8-ไดอะซาฟลูออเรน-9-โอน ทำปฏิกิริยากับกรดอะมิโนที่มีอยู่ในลายนิ้วมือเพื่อสร้างอนุพันธ์ของสารซึ่งมีการเรืองแสงสูง การกระตุ้นด้วยแสงที่ความยาวคลื่น ~470 นาโนเมตร จะส่งผลให้เกิดการเปล่งแสงที่ความยาวคลื่น ~570 นาโนเมตร[1]
คุณสมบัติ
[แก้]คุณสมบัติ | ค่า |
---|---|
ตัวรับพันธะไฮโดรเจน | 3 |
ผู้ให้พันธะไฮโดรเจน | 0 |
พันธะที่หมุนได้ | 0 |
สัมประสิทธิ์การกระจายตัว[2] (ALogP) | 1.5 |
ความสามารถในการละลาย[3] (logS, log(mol/L)) | −2.5 |
พื้นที่ผิวขั้ว[4] (PSA, Å2) | 42.9 |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Pounds, C. Anthony; Grigg, Ronald; Mongkolaussavaratana, Theeravat (1 มกราคม 1990). "The Use of 1,8-Diazafluoren-9-one (DFO) for the Fluorescent Detection of Latent Fingerprints on Paper. A Preliminary Evaluation". Journal of Forensic Sciences. 35 (1): 169–175. doi:10.1520/JFS12813J.
- ↑ Ghose, A.K.; Viswanadhan V.N.; Wendoloski, J.J. (1998). "Prediction of Hydrophobic (Lipophilic) Properties of Small Organic Molecules Using Fragment Methods: An Analysis of AlogP and CLogP Methods". J. Phys. Chem. A. 102: 3762–3772. doi:10.1021/jp980230o. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-22. สืบค้นเมื่อ 2022-01-08.
- ↑ Tetko IV, Tanchuk VY, Kasheva TN, Villa AE (2001). "Estimation of Aqueous Solubility of Chemical Compounds Using E-State Indices". Chem Inf. Comput. Sci. 41: 1488–1493. doi:10.1021/ci000392t. PMID 11749573.
- ↑ Ertl P, Rohde B, Selzer P (2000). "Fast calculation of molecular polar surface area as a sum of fragment based contributions and its application to the prediction of drug transport properties". J. Med. Chem. 43: 3714–3717. doi:10.1021/jm000942e. PMID 11020286.