ไมน็อกซิดิล
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Rogaine, Loniten |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | ปาก / ผิวหนัง |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
การเปลี่ยนแปลงยา | Primarily hepatic |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 4.2 ชั่วโมง |
การขับออก | ไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.048.959 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C9H15N5O |
มวลต่อโมล | 209.251 g/mol g·mol−1 |
| |
7 (what is this?) (verify) | |
ไมน็อกซิดิล (อังกฤษ: Minoxidil) เป็นยาขยายหลอดเลือดหรือลดความดันโลหิตสูง โดยการรับประทาน ในปัจจุบันใช้สำหรับกระตุ้นการงอกใหม่ของเส้นผม[1]
ประวัติ
[แก้]เดิมไมน็อกซิดิล เป็นยาชนิดรับประทานเพื่อรักษาผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงผิดปกติ ในทางการแพทย์พบว่ามีผลข้างเคียงทำให้ผู้ใช้ยามีผมหรือขนงอกขึ้น จึงได้มีการดัดแปลงเป็นชนิดใช้ภายนอก สำหรับรักษาอาการผมร่วงอย่างแพร่หลาย [1]โดยความเข้มข้นของยาจะอยู่ในช่วง 2 - 5%[2]
การออกฤทธิ์
[แก้]กลไกการออกฤทธิ์ของยา ในทางการแพทย์พบว่าตัวยาจะออกฤทธิ์ด้วยการเปิดช่องโปตัสเซียม ซึ่งเชื่อกันว่าจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดงอกใหม่ของเส้นผม[3] หรือ ผมร่วงอาจเกิดจากภาวะความดันโลหิตสูงกว่าปกติตัวยาทำให้ความดันลดลงส่งผลให้อาการผมร่วงลดลงไปด้วย[1]
ผลข้างเคียง
[แก้]ในทางการแพทย์แต่เดิมใช้รักษาเกี่ยวกับภาวะความดันโลหิตสูงอยู่แล้วหากนำมาใช้เพื่อรักษาอาการผมร่วงอาจมีผลทำให้ความดันลดลง หรือหากใช้ยาเพื่อรักษาอาการความดันโลหิตสูงก็อาจมีผลทำให้ผมงอกได้เช่นกัน ส่วนผลข้างเคียงอื่น ๆ เช่น หากใช้ภายนอกอาจมีอาการคัน พุพอง หรือมีขนหรือเส้นผมขึ้นในบริเวณใบหน้า [3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 "การใช้ Minoxidil และ Finasteride". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-10. สืบค้นเมื่อ 2012-04-11.
- ↑ "ยารักษา ผมร่วง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 2012-04-11.
- ↑ 3.0 3.1 "Hairup". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-02-20. สืบค้นเมื่อ 2012-04-11.